Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล (การแปรงฟัน (ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก เช่น…
การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
การแปรงฟัน
ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก เช่น มีแผล ปากแห้ง เป็นต้น ต้องทาความสะอาดปากและฟันทุก 2 ชั่วโมง
ทำความสะอาดปากและฟันหลังตื่นนอน หลังอาหารทุกมื้อ และก่อนนอน หรือตามแผนการรักษา
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ให้ทาความสะอาดปากและฟันด้วยน้ำยาบ้วนปาก
การสระผม
:
สิ่งที่ต้องคานึงถึง
อุณหภูมิของน้าที่ใช้ควรใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้อง
อุณหภูมิของห้องขณะสระผมควรอบอุ่น
ภาวะสุขภาพของผู้ป่วย หากการสระผมอาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยก็ควรงดการสระผมไว้ก่อน
เป็นการปฏิบัติสาหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ หรือผู้ป่วยที่พอจะช่วยเหลือตนเองได้แต่ไม่สามารถสระผมได้ตามปกติ
วัตถุประสงค์เพื่อกำจัดสิ่งสกปรกที่อยู่บนหนังศีรษะและเส้นผม กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตบริเวณหนังศีรษะ และทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
การบำบัดด้วยความร้อนและเย็น
การประคบร้อน
เพื่อลดอาการอักเสบ
เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือด
เพื่อให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
การประคบเย็น
การประคบด้วยความเย็นนิยมใช้กับบริเวณที่มีอาการปวดหรืออาการอักเสบ เล็กน้อย เช่น ปวดศีรษะ ปวดขมับ ปวดข้อเข่า ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อบริเวณตา เต้านมอักเสบ
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
เป็นการทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกรวมถึงฝีเย็บ มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันและลดการติดเชื้อ กำจัดกลิ่นและสิ่งที่ขับออกมา ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกให้ปฏิบัติโดยยึดตามหลักการ
ไม่เปิดเผยร่างกายผู้ป่วยเกินจำเป็น เปิดเฉพาะบริเวณที่จะทำความสะอาดเท่านั้น
ทำความสะอาดด้านไกลตัวก่อนด้านใกล้ตัว
ทำความสะอาดทุกครั้งที่ทาความสะอาดร่างกาย และภายหลังการขับถ่ายปัสสาวะอุจจาระ
ใช้สาลีก้อนใหญ่ในการเช็ด โดยใช้ 1 ก้อน ต่อการเช็ด 1 ครั้ง แล้วทิ้ง ไม่ใช้ซ้า
เช็ดจากด้านบนลงด้านล่าง ไม่เช็ดย้อนไปย้อนมา
เมื่อทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกเสร็จให้ผู้ป่วยนอนตะแคง เพื่อทำความสะอาดบริเวณก้นแล้วซับให้แห้ง
เมื่อชำระล้างแล้ว ซับให้แห้ง
การนวดหลัง
หลักในการนวดหลัง
ไม่นวดหลังในกรณีที่มีบาดแผล รอยแดง รอยบวมช้า ผื่น กระดูกหัก
ห้ามนวดหลังผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
การนวดหลังประกอบด้วยการนวดแบบพื้นฐาน 4 แบบ
การบีบนวดกล้ามเนื้อ (petrissage) เป็นการบีบนวดหรือกดโดยใช้นิ้วมือทั้ง 2 ข้าง จับกล้ามเนื้อตามยาวสลับกันโดยทาด้านใกล้กระดูกสันหลัง
การเคาะ (percussion) แบ่งเป็น 3 วิธี
การตบ (clapping) ใช้อุ้งมือตบโดยห่อมือให้ปลายนิ้วชิดกันทั้ง 5 นิ้ว เพื่อให้เกิดช่องว่างตรงกลางฝ่ามือ ตบเบา ๆ ขึ้นลงเช่นเดียวกับการสับและการทุบ
การทุบ (beating) มือทั้ง 2 ข้าง กำหลวม ๆ ใช้ด้านที่กำทุบเบา ๆ
การสับ (hacking) ใช้สันมือทั้ง 2 ข้าง สับสลับกันตามขวางของลำตัว
การกดกล้ามเนื้อ (digital friction) ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางกดคล่อมกระดูกสันหลังทีละข้อ โดยเริ่มจากต้นคอไปถึงก้นกบ
การลูบตามยาว (lubricating)
เป็นการลูบตามยาวตลอดแนวหลัง
อ้างอิง
อัจฉรา พุ่มพวง และคณะ. (2549). การพยาบาลพื้นฐาน: ปฏิบัติการพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วิทยาลัยสภากาชาดไทย.
สุปาณี เสนาดิสัย และวรรณา ประไพพานิช. (บรรณาธิการ). (2551). การพยาบาลพื้นฐาน: แนวคิดและการปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : โรงพยาบาลรามาธิบดี.
น ส พีรยา พงษ์พุฒ 2A เลขที่ 61 รหัส 613601064