Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขวิทยาส่วนบุุคล(Personal Hygiene) (วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม…
การดูแลสุขวิทยาส่วนบุุคล(Personal Hygiene)
ความหมาย
การที่บุคคลมีร่างกายที่สะอาดตั้งแต่ศรีษะจรดเท้า แต่งกายเรียบร้อยซึ่งปกติสามารถทำเองได้ แต่ถ้าทำเองไม่ได้เช่นเจ็บป่วยต้องได้รับการช่วยเหลือ
วัตถุประสงค์ทั่วไป
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและเทคนิคการปฏิบัติ การพยาบาลด้านความสุขสบาย
เพื่อให้นักศึกษาสามารถให้การปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยโดยใช้หลักการและเทคนิค
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
อธิบายความหมายของคำว่า สุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อมได้อย่างถูกต้อง
อธิบายหลักการและเทคนิคที่สำคัญ ในการให้การพยาบาลบุคคลในเรื่อง การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
บอกหลักการประเมินสภาพบุคคลเพื่อการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
วางแผนช่วยเหลือบุคคลที่ได้รับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
บอกขั้นตอนและผลการประเมินการปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่ได้รับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
การดูแลผม
จุดประสงค์ของการสระผมให้ผู้ป่วยที่เตียง
กำจัดสิ่งสกปรก ไขมัน ลดจำนวนเชื้อโรคที่สะสมที่หนังศีรษะ
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตที่หนังศีรษะ
กระตุ้นต่อมไขมันให้ขับไขมันออกมาหล่อเลี้ยงผม
เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
ข้อควรคำนึง
ภาวะสุขภาพของผู้ป่วย หากการสระผมเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยควรงดการสระผม
อุณหภูมิของน้ำที่ใช้ควนใกล้เคียง
กับอุณหภูมิห้อง
การปฎิบัติการสระผมบนเตียง
2.เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมใช้จัดสิ่งแวดล้อม
1.จัดให้นอนหงาย ศัรษะอยู่ขอบ
เตียง หมุนต้นคอด้วยหมอนเล็ก
3.ปูผ้าเช็ดตัวบนหมอน ใช้ผ้ายางหรือผ้าพลาสติกปูทับโดยพับขอบผ้ายางเข้าด้านในให้เหลือเป็นร่องน้ำไหลตรงกลาง
3.ปูผ้าเช็ดตัวคลุมบริเวณไหล่และทรวงอกอุดหูด้วยสำลีทั้ง 2ข้าง
4.ทำความสะอาดผมให้สะอาดแล้วเช็ดให้แห้ง จากนั้นจัดท่าให้สุขสบายดังเดิม
การดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
วัตถุประสงค์
เพื่อกำจัดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ และกำจัดสิ่งที่ขับออกมา
ป้องกันและลดการติดเชื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังการขับถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ และก่อนอาบน้ำ ก่อนสวนปัสสาวะให้ผู้ป่วย
การปฏิบัติ
1.ไม่เปิดเผยผู้ป่วย
2.เช็ดให้แห้งจากบนลงล่าง และไม่เช็ดย้อนไปย้อนมา เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
3.สำลีที่เช็ดแล้วไม่ทิ้งลงในหม้อนอน เพื่อป้องกันการอุดตันของชักโครก
4.นผู้ป่วยรายที่กลั้นอุจจาระและปัสสาวะเองไม่ได้ หรือได้รับการผ่าตัดบริเวณฝีเย็บ ทวารหนัก หรืออวัยวะเพศ ขาหนีบ ต้องระมัดระวังการติดเชื้อเข้าสู่ท่อทางเดินปัสสาวะ
5.การเช็ดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์สตรี มีหลักการเช็ด
สำลีก้อนที่ 3 เช็ดแคมนอกด้านใกล้ตัวจากด้านบนจนถึงทวารหนัก
สำลีก้อนที่ 4 เช็ดแคมในด้านไกลตัวเช่นเดียวกับสำลีก้อนที่ 2
สำลีก้อนที่ 2 เช็ดแคมนอกด้านไกลตัวจากด้านบนลงสู่ด้านล่างจนถึงทวารหนัก
สำลีก้อนที่ 5 เช็ดแคมในด้านใกล้ตัวเช่นเดียวกับก้อนที่ 3
สำลีก้อนที่ 1 เช็ดจากหัวเหน่าด้านซ้ายไปขวา
สำลีก้อนที่ 6 เช็ดตรงกลางจากด้านบนลงถึงทวารหนัก
6.ในผู้ป่วยเพศชาย ต้องรูดหนังหุ้มปลายองคชาตขึ้น แล้วเช็ดเป็นวงกลมจากรูเปิดของท่อปัสสาวะลงมา เช็ดจนสะอาด เมื่อเช็ดเสร็จรูดหนังหุ้มปลายองคชาตกลับปิดคงเดิมและเช็ดลูกอัณฑะอย่างเบามือให้สะอาด
หลังจากเช็ดทำความสะอาดอวัยวะเพศด้วยน้ำสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อแล้ว ราดน้ำ และซับอวัยวะเพศของผู้ป่วยให้แห้ง
การดูแลความสะอาดช่องปาก (mouth care)
จุดประสงค์
ทำให้ปากและฟันสะอาด
ลดจำนวนแบคทีเรียในช่องปาก และทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสดชื่น
สังเกตการณ์ติดเชื้อ แผลในช่องปาก
การปฎิบัติ
จัดทำให้ผูhป่วยนอนตะแคงกึ่งคว่ำ
ใช้ไม้กดลิ้นช่วยใหผู้ป่ววยอ้าปาก
สอดปากคีบที่คีบผ้ากอซเข้าไปเช็ดที่ลิ้น ฟัน กระพุ้ง แก้ม
การดูแลความสะอาดในช่องปากในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวสามารถทำบ่อยๆได้อย่างน้อยยทุก 4 ชั่วโมง
การทำเตียงและสิ่งแวดล้อม (Unit Care)
ความหมาย
การดูแลสิ่งต่างๆที่อยู่รอบๆตัวผูป่วย สภาพแวดล้อมที่สะอาดและได้รับการดูแลทุกวันรวมทั้งการมีการระบายอากาศที่เหมาะสม และปราศจาก กลิ่นรบกวน
การทำเตียง (bed making)
open bed สำหรับรอรับผู้ป่วยใหม่
occupied bed ผู้ป่วยที่ไม่สามารถลุกออกจากเตียงได้
ether bed รอรับผู้ป่วยจากห้องผ่าตัด
closed bed or anesthetic bed การทำเตียงหลังผู้ป่วยกลับบ้าน
การดูแลความสะอาดเล็บ
วัตถุประสงค์
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
การปฏิบัติ
เล็บมือควรตัดเป็นรูปมน แต่ต้องระวังไม่ให้ กิดอันตราย
กับหนังกำพร้า
เล็บเท้าตัดให้เป็นรูปตรง
เพื่อป้องกันเล็บงอกในเนื้อเยื่อและเป็นแหล่งแพร่เชื้อโรค
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง
วัตถุประสงค์
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตตามส่วนต่างๆของร่างกาย
ช่วยให้ผู้ป่วยสดชื่น สุขสบาย ลดความตึงเครียด
สังเกตลักษณะผิวหนังผู้ป่วยว่ามีความผิดปกติหรือไม่
การปฏิบัติ
การอาบน้ำ
ให้ผู้ป่วย
การอาบน้ำบางส่วนของร่างกาย (partial bath) ผู้ป่วยบางรายสามารถทำความสะอาดร่างกายบางส่วนได้เอง และในส่วนที่ผู้ป่วยทำเองไม่ได้
การอาบน้ำบนเตียงแบบสมบูรณ์ (complete bed bath)ผู้ป่วยที่อ่อนเพลียไม่มีแรง หรือผู้ป่วยที่จำกัดการเคลื่อนไหว
การอาบน้ำที่ห้องน้ำสำหรับผู้ป่วยที่สามารถอาบน้ำได้เอง หรือในผู้ป่วยบางรายอาจต้องให้ผู้อื่นช่วยบ้าง
การโกนหนวดเครา
วัตถุประสงค์
เพื่อลดการระคายเคือง
การปฏิบัติ
ก่อนการโกนหนวดควรทำความสะอาดเคราให้ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่น แล้วฟอกสบู่หรือครีมโกนหนวดวางมีดโกนทำมุม 45 องศาแล้วเลื่อนมีดฏนไปตามรายแนวขน
การนวด (Massage)
การเตรียมผู้ป่วย
บอกประโยชน์และอธิบายขั้นตอนการนวดหลังให้ผู้ป่วยทราบ
สอบถามความต้องการในการนวดหลัง
เลื่อนตัวผู้ป่วยมาชิดริมเตียงด้านที่จะให้การพยาบาล
การประเมินผู้ป่วยก่อนนวด
1.การตรวจสภาพผิวหนังก่อนการนวดหลัง ความตึงตัว ความแห้ง ไม่ควรนวดหลังในกรณีที่ผู้ป่วยมีแผลที่หลัง
2.ซักถามประวัติความเจ็บป่วย ในผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจ หรือความดันโลหิตสูง ควรตรวจสอบชีพจรและความดันโลหิตก่อนการนวดหลัง
การประเมินผู้ป่วยก่อนนวด
1.เทโลชั่น แป้ง หรือแอลกอฮอล์ลงบนมือพยาบาล แล้วทาลงบนแผ่นหลังของผู้ป่วย เพื่อลดแรงเสียดทานขณะนวดหลัง
2.นวดบริเวณแผ่นหลัง ด้วยวิธีในการนวด
3.หลังเสร็จสิ้นการนวดหลังใส่เสื้อให้ผู้ป่วย และจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สุขสบาย
4.ลงบันทึกลักษณะผิวหนัง และปฏิกิริยาของผู้ป่วยขณะที่ได้รับการนวดหลัง
นางสาววรืศรา ช่วยชาติ เลขที่ 73 ห้อง A รหัสนักศึกษา613601077
อ้างอิง
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี.(2559).การดูแลสุขวิทยาส่วนบุุคล.สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 25620 จาก
https://sites.google.com/a/bcnnon.ac.th/phun-than-kar-phyabal-bcpn/hnwy-kar-reiyn-ru1