Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูเเลสุขวิทยาส่วนบุคคล (ทำเตียงเเละสิ่งเเวดล้อม (การประเมินสิ่งเเวดล้อม…
การดูเเลสุขวิทยาส่วนบุคคล
สุขวิทยาส่วนบุคคล
หมายถึง
การที่บุคคลมีร่างกายที่สะอาดตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า แต่งกายเรียบร้อย
การดูแลความสะอาดช่องปาก
จุดประสงค์
ทำให้ปากและฟันสะอาด
ลดจำนวนแบคทีเรียในช่องปาก และทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสดชื่น
สังเกตการณ์ติดเชื้อ แผลในช่องปาก
การดูเเลผม(สระผม)
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรก ไขมัน ลดจำนวนเชื้อโรคที่สะสมที่หนังศีรษะ
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตที่หนังศีรษะ
กระตุ้นต่อมไขมันให้ขับไขมันออกมาหล่อเลี้ยงผม
เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
การดูเเลเล็บ
การดูแลเล็บให้สั้นจะเป็นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรคได้ดีกว่าเล็บยาว
เล็บมือและเท้าจะต้องสั้นและสะอาด
เล็บมือควรตัดเป็นรูปมน แต่ต้องระวังไม่ให้เกิดอันตราย กับหนังกำพร้า
เล็บเท้าตัดให้เป็นรูปตรง เพื่อป้องกันเล็บงอกในเนื้อเยื่อและเป็นแหล่ง เพาะเชื้อโรค
ผู้สูงอายุเล็บจะมีความแข็งมาก ต้องแช่เล็บในน้ำอุ่นก่อนตัดเล็บ จะสามารถตัดได้ง่ายขึ้น
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง
(การอาบน้ำ)
จุดประสงค์
ช่วยให้ผู้ป่วยสดชื่น สุขสบาย ลดความตึงเครียด
สังเกตลักษณะผิวหนังผู้ป่วยว่ามีความผิดปกติหรือไม่
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิตตามส่วนต่างๆของร่างกาย
ชนิด
การอาบน้ำบางส่วนของร่างกาย (partial bath)
สำหรับ
ผู้ป่วยบางรายสามารถทำความสะอาดร่างกายบางส่วนได้เอง
การอาบน้ำบนเตียงแบบสมบูรณ์ (complete bed bath)
สำหรับ
ผู้ป่วยไม่สามารถทำเองได้ทั้งหมด พยาบาลต้องเป็นผู้ทำให้ทั้งหมด
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
สำหรับ
ผู้ป่วยสามารถไปอาบน้ำได้เองในห้องน้ำที่มิดชิด
การดูเเลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
จุดประสงค์
เพื่อกำจัดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ และกำจัดสิ่งที่ขับออกมา
ป้องกันและลดการติดเชื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์หลังการขับถ่ายอุจจาระหรือปัสสาวะ และก่อนอาบน้ำ ก่อนสวนปัสสาวะให้ผู้ป่วย
ถ้าบุคคลไม่สามารถดูเเลสุขวิทยาของตนเองได้เนื่องจากการเจ็บป่วย
พยาบาลจะเป็นบุคคลที่ช่วยดูแลสิ่งเหล่านี้ให้ เพื่อ
ช่วยทำให้สุขวิทยาส่วนบุคคลของบุคคลนั้นอยู่ในสภาวะที่ดี ไม่ก่อให้เกิดพยาธิสภาพของโรค
ทำเตียงเเละสิ่งเเวดล้อม
หน้าที่พยาบาล
การดูแลรักษาความสะอาดเตียง
อุปกรณ์เครื่องใช้ในการนอน
ดูเเลสภาพเเวดล้อมรอบผู้ป่วยให้มีความ
สะอาดเเละเป็นระเบียบเรียบร้อย
มีการระบายอากาศอย่างเหมาะสม
ปราศจากกลิ่นรบกวน
มีการวางของอย่างเป็นระเบียบเเละไม่เป็นเเหล่งสะสมเชื้อโรค
จะส่งผลให้ผู้ป่วย
มีสุขภาพร่างกายเเละจิตใจที่ดีขึ้น
ประเภท
เตียงที่ยังมีผู้ป่วยครองเตียงอยู่ แต่ผู้ป่วยไม่ได้นอนอยู่ที่เตียง (open bed)
เตียงที่มีผู้ป่วยอยู่บนเตียง (occupied bed)
เตียงสำหรับรอรับผู้ป่วยที่ดมยาสลบ (ether bed)
เตียงว่าง (closed bed or anesthetic bed)
การประเมินสิ่งเเวดล้อมก่อนทำเตียง
ความเพียงพอของแสงสว่าง
การระบายอากาศ
สิ่งกีดขวางการปฏิบัติการพยาบาล
ผู้ป่วยนอนบนเตียงที่สะอาด เรียบตึง
ผู้ป่วยไม่มีความผิดปกติที่ผิวหนัง เช่น มีอาการระคายเคือง คัน เกิดรอยแดง
การนวด
เหมาะสำหรับ
ผู้ป่วยที่นอนรับการรักษาอยู่บนเตียง เนื่องจากการนอนทำให้การไหลเวียนโลหิตที่บริเวณหลังลดลง เพราะผิวหนังบริเวณหลังต้องรับน้ำหนักมากเป็นระยะเวลานาน
ทำให้
มีความรู้สึกผ่อนคลาย
ลดความตึงเครียดของร่างกาย
บรรเทาความวิตกกังวล
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
เป็นการเสริมสัมพันธภาพระหว่างพยาบาลกับผู้ป่วย
ท่า
ท่าลูบ (effleurage or stroking)
ท่าจับกล้ามเนื้อยกบิดไปมาสลับกัน (petrissage)
ท่าใช้สันมือสับ (tapotement)
ท่าใช้อุ้งมือตบ (percussion)
ท่าใช้นิ้วหัวแม่มือกด (Digital kneading)
ท่าสั่นสะเทือน (Vibration)
การบำบัดด้วยความร้อนความเย็น
หมายถึง
การใช้ความร้อน หรือความเย็น ในการบำบัดรักษาอาการ เเละให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ข้อควรคำนึง
อายุ
ระดับของความรู้สึกตัว
สภาวะของโรค
ระยะเวลาการนำมาใช้