Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย (วิจารณ์…
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของพยาบาลวิชาชีพในประเทศไทย
วัตถุประสงค์
เพื่อเปรียบเทียบปัญหาสุขภาพระหว่างพยาบาลวิชาชีพประจําการ
กับพยาบาลวิชาชีพที่ไม่ใช่พยาบาลประจําการ
เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลสุขภาพระหว่างพยาบาล
วิชาชีพประจําการกับพยาบาลวิชาชีพที่ไม่ใช่พยาบาลประจําการ
ผลการวิจัย
2. ปัญหาสุขภาพ
:star:
พยาบาลวิชาชีพประจำการ
ร้อยละ 47.8 เจ็บป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อกระดูกหรือข้อมากที่สุด
ร้อยละ 37.3 ระบุว่าตนเองไม่เป็นโรครุนเเรงชนิดใดเลย
:star:
พยาบาลไม่ประจำการ
ร้อยละ 53.7 เจ็บป่วยด้วยโรคกล้ามเนื้อกระดูกหรือข้อมากที่สุด
ร้อยละ 27.5 ระบุว่าตนเองไม่เป็นโรครุนเเรงชนิดใดเลย
3. ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค
:star:
พยาบาลประจำการ
ร้อยละ 30.3 มีปัญหาเกี่ยวกับการนอน
ร้อยละ 53.6 มีภาวะตึงเครียดในงาน
ร้อยละ 9.9 บุคคลในครอบครัวเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง
:star:
พยาบาลไม่ประจำการ
ร้อยละ 27.3มีปัญหาเกี่ยวกับการนอน
ร้อยละ 37.4มีภาวะตึงเครียดในงาน
ร้อยละ 3.0 บุคคลในครอบครัวเจ็บป่วนด้วยโรคเรื้อรัง
1. คุณลักษณะของพยาบาลวิชาชีพ
ร้อยละ 55.6 ของพยาบาลประจำการมีประสบการณ์ในการทำงานในเวรกลางคืน
ร้อยละ 23.4 ทำงานในลักษณะหมุนเวียน เช้า บ่าย ดึก
ร้อยละ 6.5 ทำงานเป็นเวนผลัดบ่ายหรือดึก
ร้อยละ48.1 ทำงานเกินกว่า 12 ชั่วโมงต่อวัน
ร้อยละ 44.4 ของพยาบาลวิชาชีพที่ไม่ใช่พยาบาลประจำการ
มีประสบการณ์ในการทำงานในเวรกลางคืน
ร้อยละ 1.0 ทำงานลักษณะหมุนเวียนเช้า บ่ายดึก
ร้อยละ 1.1 ทำงานเป็นเวรผลัดบ่ายหรือดึก
ร้อยละ 23.1 ต้องทำงานเกินกว่า 12 ชั่วโมงต่อวัน
4. พฤติกรรมการดูเเลสุขภาพ
:star:
พยาบาลประจำการ
:pencil2:
การตรวจสุขภาพใน 2 ปีที่ผ่านมา
ร้อยละ 92.0 เคยตรวจ X-ray ปอด
ร้อยละ 12.7 เคยตรวจเลือดหาระดับ PSA
:pencil2:
การใช้บริการสุขภาพใน 1 ปีที่ผ่านมา
ร้อยละ 71.1 เคยพบเเพทย์เมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อย
ร้อยละ 12.5 เคยเข้านอนรักษาในโรงพยาบาล
:pencil2:
การรับประทานยาใน 1 เดือนที่ผ่านมา
ร้อยละ 0.4 ใช้ยาระงับปวดชนิดรุนเเรง
ร้อยละ 34.1 ใช้ยาเเก้ปวดชนิดไม่รุนเเรง
:star: พยาบาลไม่ประจำการ
:pencil2:
การตรวจสุขภาพใน 2 ปีที่ผ่านมา
ร้อยละ 90.9 เคยตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
ร้อยละ 20.2 เคยตรวจเลือดหาระดับ PSA
:pencil2:
การใช้บริการสุขภาพ
ใน 1 ปีที่ผ่านมา
ร้อยละ 59.4 เคยพบเเพทย์เมื่อเจ็บป่วยเล็กน้อย
ร้อยละ 11.1 เคยเข้านอนรักษาในโรงพยาบาล
:pencil2:
การรับประทานยาใน 1 เดือนที่ผ่านมา
ร้อยละ 31.8 ใช้ยาเเก้ปวดชนิดไม่รุนเเรง
ร้อยละ 0.1 ใช้ยาระงับปวดชนิดรุนเเรง
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น
คุณลักษณะของพยาบาลวิชาชีพ
ปัญหาสุขภาพ
ตัวแปรตาม
ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรค
พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
วิจารณ์
โรคกล้ามเนื้อกระดูกและข้อ
พย.ประจำการ>ไม่ประจำ
ซื้อยาบรรเทาเอง
ติตตาม
ปัญหาโรคกล้ามเนื้อกระดูก+ข้อต่อเนื่อง
แนวทางป้องกัน+แก้ไข
ตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก
พย.ประจำการ ตรวจค่อนข้างน้อย
ขาดความตระหนัก
ติดตาม
รณรงค์การตรวจสุขภาพ
ปัญหาการนอนไม่หลับ
พย.ประจำการ>ไม่ประจำการ
ลักษณะการทำงาน
การใช้ยานอนหลับ
ติดตาม
ติดตามการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
วิเคราะห์การใช้ยา
Heart disease,DM,HT,DLP
พย.ไม่ประจำการ>ประจำการ
พย.ประจำการมีการตรวจสุขภาพ
ติดตาม
จัดทำข้อมูลสุขภาพอย่างระบบ
เก็บข้อมูลต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ
ติดตามปัญหาสุขภาพ
ศึกษา/ติดตามภาวะสุขภาพ
ประเมินปัญหาสุขภาพ
แบบสอบถามด้วยตนเอง+ผลตรวจร่างกาย+ผลทางห้อง Lab
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวสภาพการทำงาน
การจ้างงาน
การทำงานเวรกลางคืน
ภาระงานในระยะ 30 วันที่ผ่านมา
ลักษณะงาน/ความตึงเครียด
ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะสุขภาพและปัญหาสุขภาพ
ข้อมูลการตรวจสุขภาพ
ปัญหาภาวะน้ำหนักเกิน
ข้อมูลกิจกรรมทางกาย
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว/ความเจ็บป่วย/การใช้บริการรักษาพยาบาล
ปัญหาการนอน
ระยะเวลาพักฟื้น/การรับประทานยา
ส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
พยาบาลวิชาชีพที่ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ จากสภาการพยาบาลแห่งประเทศไทยระหว่างปี พ ศ 2545-2552 จํานวน 120,000 คน
กลุ่มตัวอย่าง
พยาบาลวิชาชีพที่ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ จากสภาการพยาบาลแห่งประเทศไทย ระหว่างปี พ ศ 2545-2552 จํานวน 18,763 คน
รูปแบบการวิจัย
การวิจัยเชิงพรรณนา
(Descriptive Research)
สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล
ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความต่างโดย Chi-square
วิชาแนวโน้มวิชาชีพการพยาบาล
รหัสนักศึกษา 603101051 - 603101076