Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiac Tamponade:…
การพยาบาลบุคคลที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
Atrio-Ventricular block (AV.block)
1.การปิดกั้นไม่เต็มที่ (Patial)
First degree AV. Block
คลื่นไฟฟ้าจาก S.A. node ส่งไป A.V. node ช้า ก่อนส่งผ่านไปยัง ventricle ทำให้ P-R interval ยาว
สาเหตุจากการขาดเลือดของ A.V. node, โรคหัวใจ, ยาบางอย่าง
EKG จังหวะสม่ำเสมอ มี QRS complex ตามหลัง P wave, P-R interval ยาวกว่า 0.20 วินาที wave รูปร่างปกติ
รักษา : เมื่อ P-R interval มากกว่า 0.26 หรือเกิด block เพิ่มขึ้น
Second degree AV.Block
Mobitz type 1
คลื่นไฟฟ้าผ่าน A.V. Node ในจังหวะต่อๆไปจะช้าลงเรื่อยๆจนหยุด
EKG ventricle ค่อนข้างช้า จังหวะไม่สม่ำเสมอ P wave ปกติ แต่มากกว่า QRS complex, P-R interval จะมีช่วงยาวขึ้นเรื่อยๆจนหยุด
รักษา : เมื่ออัตรา ventricle 9jedljk 50 ครั้ง/นาที ให้ isoproternol ใน 5% Dextrose
Mobitz type 2
คลื่นไฟฟ้าถูกปิดกั้นที่ A.V. node ไม่สามารถผ่านไปสู่ ventricle ได้
block 2:1 หายเองได้ แต่ 3:1, 4:1 จะมีผลต่อการไหลเวียนเลือดและนำไปสู่ complete heart block
รักษา : P-R intarval คงที่ ใส่เครื่องกระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจชั่วคราว
2.การปิดกั้นเต็มที่ : Third degree AV.Block
คลื่นไฟฟ้าถูกปิดกั้นโดยสมบูรณ์
ventricle เต้น 30-40 นาที atrium เต้น 60-100 ครั้ง/นาที จังหวะสม่ำเสมอ
รักษา : เครื่องกระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจแบบถาวร (permanent pacemaker)
Cardiac Tamponade: การบีบอัดของหัวใจ
ภาวะที่มีของเหลว(น้ำ/เลือด)ปริมาณมากอยู่ในถุงเยื่อหุ้มหัวใจ ทำให้มีการเพิ่มขึ้นของแรงดันในถุงเยื่อหุ้มใจ
สาเหตุ
การบาดเจ็บของทรวงอก
Heart Attack จาก Acute MI
การติดเชื้อ มะเร็ง ไตเสียหน้าที่
อาการ/อาการแสดง
Fatigue, หายใจลำบาก, P เบา เร็ว
ใจสั่น กระสับกระส่าย, Neck vien engorge
ความดัน SBP < 100 mmHg. Pluse pressure < 30 mmHg.
Pulsus paradoxus : Systolic BP ลดต่ำมากกว่า 10 mmHg ช่วงหายใจเข้า
พบ pericardial rub, beck's triad
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
pericardial rub, beck's triad
Pulsus paradoxus
เคาะหัวใจทึบกว้างกว่าปกติ
ตรวจรังสีทรวงอก
หัวใจรูปร่างเหมือนขวดน้ำ หรือ กลม
EKG : QRS เตี้ยลง, T wave ต่ำหรือแบนราบ
Echo : เห็นน้ำใน pericardial sac (ดีที่สุด)
ประวัติ
การบาดเจ็บทรวงอก โรคประจำตัว
การรักษา
มักต้องรีบ resuscitation ก่อนเจาะน้ำ โดยให้สารน้ำเพื่อไม่ให้เกิด RV diastolic collapse เช่น 0.9% NSS
การรักษาด้วยา vasodilator ลดความต้านทานหลอดเลือด
CPR ในรายที่หัวใจหยุดเต้น
ให้ออกซิเจนปริมาณสูงๆ
Heart Surgery
ชนิดการผ่าตัด
การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด : ผ่าตัดเมื่อหัวใจหยุดทำหน้าที่แล้ว ต้องใช้เครื่องหัวใจและปอดเทียม
การผ่าตัดหัวใจแบบปิด : ผ่าตัดขณะที่หัวใจยังทำหน้าที่ตามปกติ
Cardiopulmonary Bypass
ประกอบด้วย Pump/ Oxygenator/ Plastic circuitry
หลักการทำงาน
1.ทำให้เลือดอยู่ในสภาวะเจือจาง ใช้น้ำยาสำรองใส่ท่อพลาสติค
2.ปรับอุณหภูมิร่างการให้ต่ำลง 28-32 องศา
3.ใช้สารต้านการแข็งตัวของเลือด > heparin
ภาวะแทรกซ้อน
Hemorrhage/ กล้ามเนื้อหัวใจเสื่อม/ การทำลายเม็ดเลือดแดง
น้ำตาลในเลือดสูง/ Electrolyte imbalance
วินิจฉัยทางการพยาบาล
วิตกกังวล / กลัวตาย
เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
ความทนในการทำกิจกรรมลดลง
ปรับตัวไม่เหมาะสม
การพยาบาล
ไม่ทำกิจกรรมหลายอย่างในเวลาเดียวกัน
อาบน้ำด้วยการตับอาบ ให้นั่งเก้าอี้อาบ เลี่ยงน้ำอุ่นจัด
จัดเวลาพักผ่อน
ฝึกขึ้นบันไดช้าๆ ถ้าเหนื่อยให้หยุด
ทำกิจกรรมทางเพศได้ 4-6 สัปดาห์หลังผ่าตัดหรือถ้าขึ้นบันได 2 ขั้นไม่เหนื่อย
เลี่ยงกิจกรรมที่ออกแรงผลัก
ห้ามรับประทาน aspirin สุรา เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
Artificial Cardiac Pacemaker
เครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
ส่วนประกอบ
1.เครื่องกำเนิดไฟฟ้า : ปล่อยกระแสไฟฟ้าออกมาแต่ละครั้งประมาณ 1.5 ml
2.Electrode (สายสื่อ) ชนิดขั้วเดียว > ไวต่อการรับสัญญาณ ชนิด 2 ขั้ว > ถูกรบกวนจากกระแสไฟฟ้าภายนอกน้อย
Tenpolary Pacemaker (ชั่วคราว)
ข้อบ่งชี้ในการใส่
หมดสติเป็นเวลานาน
MI มี Arrhythmia AV Block
เตรียมใส่ Pacemaker ถาวร
Tachyarrhthmia ไม่ตอบสนองกับยา
Permanent Pacemaker (ถาวร)
ข้อบ่งชี้ในการใส่
Third degree AV.Block HR < 40/min
Second degree AV Block
กลุ่มอาการหัวใจเต้นช้าหรือช้าสลับเร็ว
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่พอ
การติดเชื้อ
การอุดตันจาก Emboli
เกิดเนื้อตายหรือแผลทะลุ
การพยาบาล
ดูแลตัดไหม 14 วัน
แนะนำห้ามยกแขนเหนือระดับไหล่
แนะนำหลีกเลี่ยงการหมุนขาออกนอกลำตัวหรืองอสะโพกมาก
สอนหายใจ
แนะนำห้ามสัมผัสสิ่งที่เป็นโลหะใส่ถุงือยางเมื่อต้องจับ
กระตุ้นให้ออกกำลังกายตามทิศการเคลื่อนไหวของข้อ