Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
AML with Febrile Neutropenia (อาการปัจจุบัน (มีไข้ : (WBC=100 Neutrophil=0…
AML with Febrile Neutropenia
อาการปัจจุบัน
มีไข้ :
WBC=100 Neutrophil=0 Lymphocyte=0 ANC=0
เกิดการติดเชื้อ เนื่องจากภูมิคุ้มกันร่างกายต่ำ
Check vital signs ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ โดยเฉพาะอุณหภูมิ เพื่อดูการติดเชื้อ
ดูแลความสะอาด ร่างกายผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อมรอบเตียงของผู้ป่วย ล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังให้การพยาบาลเพื่อลดและไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่ผู้ป่วย
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารตามแผนการรักษาของแพทย์ คือ soft diet + low bact. Diet เช่น อาหารที่ปรุงสุกใหม่ นมsterilized งดผลไม้ที่มีเปลือกบาง เช่น แอปเปิ้ล องุ่น เป็นต้น
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ คือ
Meropenam (120 mu day) 1.9 gm IV q 8 hr.
Bactrim (80 mg/tab) 1-0 -1/2 tab po pc ศ-อา
Itraconazole 100 mg 2 tab Po bid pc
Amikacin 230 mg IV q 8 hr
สังเกตอาการผิดปกติติดเชื้อในร่างกาย เช่น ปัสสาวะแสบขัด สีขุ่น มีdischarge ไหล
มีจุดจ้ำเลือดแขนและขา
Plt count = 44,000 /uL Hct=28.1 Hb=10.1
เสี่ยงต่อการเกิดเลือดออกง่ายหยุดยาก เนื่องจากเกล็ดเลือดต่ำ
วัดสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว ทุกๆ 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินภาวะเลือดออกในสมองและจากอวัยวะต่างๆ และการไหลเวียนของเลือดในร่างกาย
สังเกตอาการที่เกิดจากมีเลือดออกในอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย เช่น การมีจ้ำเลือดสีเขียวตามผิวหนัง เลือดออกตามไรฟัน เลือดกำเดา อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด เป็นต้น หากมีให้รีบรายงานให้พี่พยาบาลทราบ
แนะนำผู้ป่วยให้หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมที่ทำให้เกิดการกระทบกระแทก เพื่อป้องกันการเกิดบาดแผล
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารอ่อนและย่อยง่าย เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก หรือผลไม้ที่เนื้อไม่แข็ง เพื่อไม่ให้เกิดเกิดการเลือดออกตามไรฟัน
แนะนำให้ใช้แปรงสีฟันขนอ่อนนุ่มเพื่อป้องกันภาวะเลือดออกตามไร้ฟัน
ให้สังเกตเลือดออกทางจมูก ผิวหนัง ปากและถ่ายอุจจาระสีน้ำตาลหรือดำ
ตัวซีด
Hct =28.1 % Hb = 10.1 g/dL RBC = 3.92 /uL อาการเหนื่อยง่าย - Capillary Refill = 3 วินาที
เสี่ยงต่อภาวะซีด เนื่องจากการสร้างเม็ดเลือดแดงที่ลดลง
ประเมินและสังเกตภาวะซีดจากการซักถามและตรวจร่างกาย เช่น อาการเหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย Conjunctiva ริมฝีปาก Capillary Refill เพื่อให้ทราบถึงภาวะซีด
แนะนำญาติให้สังเกตอาการซีดของผู้ป่วย เช่น ริมฝีปาก เยื่อบุตา เล็บมือเล็บเท้า อาการเหนื่อยหอบ อ่อนเพลีย
Check Vital signs ทุกๆ 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะ BP และ P เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
แนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและธาตุเหล็กสูง เช่น เนื้อสัตว์ ตับ นม ไข่ เพื่อเสริมสร้างเม็ดเลือด
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียง เพื่อลดการใช้ออกซิเจนในการทำกิจกรรมต่างๆ
ติดตามแผนการรักษาให้เลือด ถ้ามีแผนการรักษาให้เลือด ก่อนให้เลือด check vital signs และ check vital signs หลังให้เลือด 15 นาที 4 ครั้ง พร้อมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนหลังให้เลือด เช่น มีไข้ มีผื่นขึ้น
ติดตามผลการตรวจ CBC โดยเฉพาะ RBC Hb Hct
เพื่อให้ทราบถึงความเข้มข้นของเลือดในร่างกาย