Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 12 สรุปทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์…
บทที่ 12 สรุปทิศทางและแนวโน้มของการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
ธรรมาภิบาลในฐานะรัฐประศาสนศาสตร์แนวใหม่
1.การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล:ปัจจัยที่อธิบายความสำเร็จหรือความล้มเหลว
2.การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
3.การสำรวจความนิยมของประชาชนที่มีต่อพรรคการเมืองและระบบการเมือง
4.การศึกษาแนวทางในการจัดสรรแนวนโยบายหรือทรัพยากร
5.การศึกษาวิจัยแนวทางในการพัฒนาระบบในการป้องกันแสวงหาผลประโยชน์โดยฝ่ายการเมือง ภาครัฐ และภาคธรกิจ
6.การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการบริหารการเมือง
7.การประเมินความพึงพอใจของประชาชนที่มีตอพรรคการเมือง
8.การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินความต้องการของกลุ่มหลากหลายในสังคม
9.การพัฒนาแนวทางและมาตราการไปสู่ความเป็นประชารัฐ
10.การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการบริหารงานภาครัฐให้เป็นไปตามหลักนิติธรรม
สาขานโยบายสาธารณะ
1.การประเมินความเหมาะสม การส่งประโยชน์ และผลกระทบของนโยบายของรัฐ
2.การพัฒนามาตราการและกลยุทธ์ในการทำให้การนำนโยบายสาธารณะ
สาขาพฤติกรรมองค์การ
1.วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์การ
2.ประสิทธิภาพการสื่อสาร
3.สิ่งจูงใจ
4.ความสามารถในการจัดการความขัดแย้ง
5.ความสามารถของผู้ปฏิบัติงาน
6.ความสามารถในการตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ
7.ภาวะผู้นำของผู้บริหาร
สาขาวิชาทฤษฎีทางเลือกสาธารณะ
1.การวิจัยเพื่อพัฒนาการใช้เทคโนโลยี
2.การวิจัยเพื่อพัฒนาการสร้างระบบการมีส่วนร่วม
3.การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการให้บริารประชาชน
4.การพัฒนาทางเลือกในการให้บริการ
5.การวิจัยเพื่อศึกษาต้นทุนการให้บริการของภาครัฐ
6.การวิจัยเพื่อศึกษาหาแนวทางในการประหยัดต้นทุน
7.การวิจัยประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ
8.การวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบของหน่วยงาน และการแปรสภาพกิจกรรมของรัฐเป็นกิจกรรมของเอกชน
สาขาวิชาการแปรกิจกรรมรัฐเป็นกิจกรรมเอกชน
1.การศึกษาเฉพาะกรณีความสำเร็จ
2.การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจำหน่ายถ่ายโอนทรัพย์สินให้เอกชน
3.การศึกษาวิจัยว่าด้วยการให้เช่าทรัพย์สินของรัฐแก่ภาคเอกชน
4.การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินการถอนตัวจากกิจกรรมการให้บริการของรัฐ
5.การศึกษาวิจัยเพื่อการร่วมเป็นหุ้นส่วนระหว่างรัฐและเอกชน
6.การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบในการทำให้เอกชนขนาดใหญ่และเอกชนข้ามชาติมาร่วมผลิต
7.การศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาระบบสิทธิบัตร
8.การศึกษาวิจัยเพื่อศึกษาลักษณะของการเรียกเก็บค่าบริการ
9.การศึกษาวิจัยเพื่อดูความเป็นไปได้ของกิจกรรมที่รัฐควรเปิดให้เอกชนดำเนินการโดยเสรี
10.การศึกษาวิจัยเพื่อประเมินผลกระทบ
นวัติกรรม จริยธรรม ความรัผิดชอบต่อสังคม : เป้าหมายและการบรูณาการการวิจัย
1.บูรณาการองค์ความรู้จากสาขาวิชาต่างๆ ของรัฐประศาสนศาสตร์เข้ามาด้วยกันเพื่อประโยชน์ในการวิจัย
2.นำนวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาและขับเคลื่อนระบบบริหารของประเทศ