Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบหัวใจและ
หลอดเลือด (การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจภาวะวิกฤตในห้องฉุกเฉิน…
ระบบหัวใจและ
หลอดเลือด
-
ภาวะวิกฤตของหัวใจ
ภาวะการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac temponade)
เป็นภาวะที่มีการบีบรัดหรือกดต่อหัวใจอย่างเฉียบพลัน ผลมาจากความดันในช่องเยื่อหุ้มหัวใจเพิ่มขึ้น การสะสมของน้ำ เลือดหนอง
สาเหตุ
การได้รับบาดเจ็บต่อเยื่อหุ้มหัวใจ
การแพร่กระจายของมะเร็งมายังเยื่อหุ้มหัวใจ
การอักเสบหรือการติดเชื้อที่ช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
อาการและอาการแสดงเหนื่อยหอบ หายใจขัด เจ็บหน้าอก น้ำหนักลด
ภาวะเฉียบพลันจากอุบัติเหตุ พบเส้นเลือดดำที่คอโป่งพองขึ้น หายใจเหนื่อย มือเท้าเย็นซีด ความดันต่ำ
-
การพยาบาล: บันทึกสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว ปริมาณปัสสาวะให้นอนศีรษะสูงดูแลให้ได้รับออกซิเจนดูแลให้ได้รับยา Isoproterenal เพื่อเพิ่มอัตราการเต้นและบีบตัวของหัวใจ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้เพียงพอ กลไกการปรับชดเชยไม่สามารถที่จะปรับชดเชยได้อีกต่อไป
สาเหตุ
การหดตัวองกล้ามเนื้อหัวใจลดลงจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด มีของเหลวในเยื่อหุ้มหัวใจ
กล้ามเนื้อหัวใจทำงานหนักจากการเพิ่มแรงต้านทานของเส้นเลือด การเพิ่มปริมาณเลือดก่อนบีบตัวในโรคลิ้นหัวใจรั่ว
ชนิด
หัวใจด้านซ้ายล้มเหลว: เหนื่อยง่ายเมื่อมีกิจกรรม หายใจหอบในท่านอนราบ ไอ หอบในช่วงกลางคืน หายใจเสียงดัง
หัวใจด้านขวาล้มเหลว: ตับม้ามโต มีการคั่งของน้ำในช่องท้อง มีการยืดขยายของหลอดเลือดดำที่คอ มีการบวมของเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง
การรักษาและการพยาบาล
-
การให้ออกซิเจน ลดการทำงานของหัวใจที่เกินกำลัง เช่น การให้ยาขับปัสสาวะ การจำกัดเกลือ นอนในท่าศีรษะสูง
ความผิดปกติของลิ้นหัวใจ
- เป็นมาแต่กำเนิด
- เกิดภายหลัง
มักพบความผิดปกติที่ลิ้นไมตรัลและลิ้นเอออร์ติคมากที่สุด
Mitral regurgitation: ทำให้มีการไหลย้อนกลับของเลือดจากเวนตริเคิลซ้ายไปยังเอเตรียมขวา
อาการแสดง: ใจสั่น หอบเหนื่อยเจ็บหน้าอก เสียงหัวใจ S1 ค่อนข้างเบา
Aortic Stenosis: เป็นความพิการโดยลิ้นหัวใจหนาขึ้น และมีการยึดติดของกลีบลิ้น ทำให้รูเปิดของเอออร์ติคแคบลง
อาการแสดง: เจ็บหน้าอก เป็นลมหมดสติ เหนื่อยหอบ
Mitral Stenosis: ลิ้นหนาตัวขึ้นและอาจจะมีหินปูนมาจับ ทำให้ลิ้นไม่เคลื่อนไหวตามปกติ
อาการแสดง: ใจสั่น หอบเหนื่อยไอเป็นเลือด เจ็บหน้าอก
Aortic Regurgitation: เลือดออกจากเวนตริเคิลซ้ายไปเอออร์ต้าไหลย้อนกลับเข้าสู่เวนตริเคิลซ้าย
อาการแสดง: ใจสั่น หัวใจเต้นแรง เจ็บหน้าอก นอนราบไม่ได้ ปวดท้อง
การรักษา
การรักษาทางอายุกรรม
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ จำกดเกลือและให้ยาขับปัวสสาวะ จำกัดกิจกรรม ให้ยาต้านการเจ็บหน้าอก ยาต้านการแข็ตัวของเลือด
-
-
-
-
-