Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดระยะที่ 3 ทารกคลอด-รกคลอด เวลา 15-30 นาที (การประเมินการฉีกขาดของแ…
การคลอดระยะที่ 3 ทารกคลอด-รกคลอด
เวลา 15-30 นาที
ชนิดการลอกตัวของรก
Schultze mechanism เริ่มลอกตรงกลางก่อน ไม่มีเลือดออกให้เห็น มองเห็นรกด้านทารกออกมาก่อน
Duncan mechanism เริ่มลอกบริเวณริมก่อน
เห็นเลือดไหลออกมาทางช่องคลอดประมาน 30-60 cc vulvar sign
เห็นรกด้านแม่คลอดออกมาก่อน
ประเมินการลอกตัวของรก
uterine sign มดลูกหดรัดตัวแข็งลอยตัวึ้นถึงระดับสะดือ เอียงไปทางขวา เพราะด้านซ้ายมีกระเพาะอาหาร
cord sign เหี่ยว คลายเกลียว คลำ pulse ไม่ได้
cord test ใช้มอกดบริเวณเหนือกระดูกหัวเหน่าและโกยมดลูกขึ้นไปข้างบนถ้าสายสะดือไม่เคลื่อนตาม แสดงว่ารกลอกตัว
vulvar sign มีเลือดไหลออกมาให้เห็นทางช่องคลอด
การประเมินการฉีกขาดของแผลฝีเย็บ
Third ถึงกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนัก anal sphincter
fourth ถึงผนังด้านหน้าของทวารหนัก renal mucosa
second ถึงกล้ามเนื้อฝัเย็บ
First ฉีกขาดถึงเยื่อบุช่องคลอด
การซ่อมแซมฝีเย็บ
เพื่อไม่ให้เลือดออกมาก ให้เเผลติดเร็วให้พื้นเชิงกรานกลับสู้สภาพเดิม
1 เย็บเยื่อบุช่องคลอดแล้วขอบ hymen ทั้งสองจะมาชนกันพอดี
2 เย็บชั้นกล้ามเนื้อของปากช่องคลอดและฝีเย็บและเย็บชั้น superficial fascia
3 เย็บชั้นของผิวหนังฝีเย็บ วิธีเย็บ subcuticular suture หรือ simple interupted suture
การทำคลอดรก
modified crede'maneuver
-ใช้มือที่ถนัดคลึงมดลูกให้หดรัดตัวเป็นก้อนแข็งเต็มที่
-ผลักมดลูกมาอยู่ตรงกลางใช้อุ้งมอดันยอดมดลูกส่วนบนที่หดรัดตัวแข็งลงมาหา promontary of sacrum โดยทำมุมกับแนวดิ่ง 30 องศา
-เมื่อรกผ่านออกมาให้ใชมืออีกข้างรองรับรกไว้แล้วเปลี่ยนมือที่ดันมดลูกไว้มาโกยมดลูกขึ้นมือที่รองรับรกค่อยๆหมุนรกไปทางเดียวกัน
brandt-andrews maneuver
.-คว่ำมือข้างที่ถนัดแตะไว้ที่รอยต่อเหนือกระดูกหัวเหน่าใช้มือข้างที่ไม่ถนัดจับบสายสะดือดึงให้สายสะดือพอตึงแล้วใช้มือข้างที่ถนัดโกยมดลูกส่วนบนขึ้นไปเล็กน้อยถ้ารกลอกตัวสมบูรณ์แล้วสายสะดือจะไม่ถูกดึงรั้งขึ้นไป
-ทำคลอดรกโดยใช้มือที่ถนัดเปลี่ยนมากดบริเวณท้องน้อยเหนือรอยต่อกระดูกหัวเหน่าลงล่างเพื่อผลักรกที่อู่ในมดลูกส่วนล่างเคลื่อนต่ำลงมาจนกระทั่งรกโผล่ให้เห็นที่ปากช่องคลอดจึงเปลี่ยนเป็นดีนมดลูกส่วนบนขึ้นไปเพื่อรั้งให้เยื่อหุ้มรกลอกตัวแล้วใช้เครื่องมือจับสายสะดือไว้ช่วยดึงรกออกมาเบาๆ
controlled cord traction
ใช้มือข้างที่ไม่ถนัดคลึงมดลูกส่วนบนให้แข็งและดันมดลูกส่วนบนไม่ให้เลื่อนลงมาใช้มือข้างที่ถนัดจับสายสะดือให้รกออกมาในแนวระนาบจนรกและเยื่อหุ้มทารกคลอดออกมาหมดอาจทำให้มดลูกปลิ้นได้ง่าย
การตรวจรกและเยื่อหุ้มทารก
การเกาะของสายสะดือ
lateral insertion เกาะค่อนไปด้านใดด้านหนึ่งchrorionic plate
marginal insertion เกาะติดริมขอบรก
central insertion เกาะตรงกลาง chrorionic plate
membranous insertion สายสะดือติดอยู่บนเยื่อหุ้มทารกชั้น chorion และมีแขนงของสายเลือดจากสะดือที่ต่อไปถึง chrorionic plate
การตรวจรกด้านทารก
การกระจายเส้นเลือดจากสายสะดือแผ่กระจายออกเป็นรัศมีโดยรอบ chrorionic plateสิ้นสุดก่อนถึงขอบรก 1 cm
วงสีขาวรอบขอบรก closing ring of wrinkle -waldlayer อาจจะอยู่ห่างจากขอบรกเข้ามาเล็กน้อย
เยื่อหุ้มทารกชั้น amnion,chrorion ออกมาครบสมดุลกัน
การตรวจรกด้านแม่
cotyledon มีลักษณะเป็นก้อน สีแดงเข้ม เหมือนลิ้นจี่ มีประมาน 15-20 ละมีร่องเรียกว่า placental salcus และหากcotyledon ออกมาไม่ครบ มีรอยขาดไม่เป็นมัน มีสีคล้ำ และยังมีเลือซึมจากช่องคลอดออกมาเรื่อยๆอาจมีรกค้างอยู่ ให้ตรวจดูในโพรงมดลูก
ลักษณะรกที่ผิดปกติ
-placenta succenturiata
-placenta spurium
-placenta membranacea
-placenta circumvallate
-placenta velamentisa
การตรวจสายสะดือ
หลอดเลือดมี3 เส้น
ี umbilical vein 1 เส้น
umbilical artery 2 เส้น
ความยาวสายสะดือปกติยาว 30-100 cms เฉลี่ยยาว 50cms
ปม knot ที่สายสะดือพบได้ 2 แบบ
false knot
false jelly knot เกิดจาก wharton jelly หนาขึ้นเป็นปม
false vascular knot เกิดจากเส้นเลือด umbilical vein ขดเป้นจุก
true knot ผูกกันเป็นปมจะทำให้ทารกขาดออกซิเจนเสียชีวิตได้
เนื้อตายของรก infraction มีสีออกเหลืองๆเทาๆหรือขาวเกิดจากการเสื่อมตามธรรมชาติหรือพบในผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน เช่น HT และหินปูนเป็นจดขาว เทากระจายทั่วเนื้อรกเป็นสิ่งปกติ
น้ำหนักรกประมาน 500 กรัม หรือ 1 ใน 6 ของน้ำหนักทารก