Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แหล่งเรียนรู้ในชุมชนของโรงเรียนกาญจนดิษฐ์ ศูนย์เพาะเลี้ยงหอยนางรม…
แหล่งเรียนรู้ในชุมชนของโรงเรียนกาญจนดิษฐ์ ศูนย์เพาะเลี้ยงหอยนางรม
ที่มาและความสำคัญ
หอยนางรม เป็นหอยสองฝาที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง จึงมีผู้บริโภค หอยนางรมกันมากโดยเฉพาะหอยนางรมพันธุ์ใหญ่หรือหอยตะโครม เนื่องจากการตลาดหอยนางรมนั้น มีแนวโน้มขยายตัวได้อีกมากเพราะผลผลิตในปัจจุบันยังไม่เพียงพอต่อการบริโภคภายในประเทศ ทำให้หอยนางรมมีราคาสูงมากเมื่อเทียบกับหอยชนิดอื่น ๆ หอยนางรมที่นำมาบริโภคเกือบทั้งหมดเป็นหอยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงโดยอาศัยธรรมชาติ หอยจะกรองกินพืชน้ำขนาดเล็กที่แขวนลอยในแหล่งน้ำเค็มเป็นอาหารหลัก
สถานที่และลักษณะ
ศูนย์เพาะเลี้ยงหอยนางรม อยู่ที่ปากคลองท่าทองและปากคลองกระแดะ เป็นสถานที่เพาะเลี้ยงหอยนางรมตามธรรมชาติ หอยนางรมที่ได้จากปากคลองนี้มีขนาดใหญ่กว่าแห่งอื่น
การเดินทาง
ผู้ประสงค์จะเดินทางไปชมสามารถเช่าเรือหางยาวขนาดบรรทุก 10 คน ได้ที่ท่าเรือท่าทอง ใช้เวลาเดินทาง 20 นาที และควรไปในตอนเช้า หรือช่วงที่น้ำลง เพราะสามารถเห็นหอยนางรมที่เกาะตามแท่งซีเมนต์ได้ชัดเจน
12/1 หมู่ที่ 9 ตำบล กะแดะ อำเภอกาญจนดิษฐ์ สุราษฎร์ธานี 84160
ข้อดีและข้อจำกัด
ข้อดี
ได้เรียนรู้เกี่ยวกับอาชีพการเลี้ยงหอย
รู้การเลี้ยงหอยนางรมที่ถูกวิธี
สร้างความสัมพันธ์ระหว่าโรงเรียนกับชุมชน
นักเรียนมีทางเลือกในอาชีพที่หลากหลาย
รู้จักการแปลรูปผลิตภัณฑ์หอยนางรมในรูปแบบต่าง ๆ
ข้อจำกัด
การออกศึกษานอกสถานที่มีความเสี่ยงเพราะต้องศึกษาดูในทะเลจริง
ระยะเวลาในการศึกษาต้องตรวจสอบสถาพอากาศ
อ้างอิงแหล่งที่มา
ศึกษาการเลี้ยงหอยนางรมของชาวบ้าน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี
ชื่อผู้วิจัย : ศรัณย์ วรานนท์ชุติ
การเจริญเติบโตและการลงเกาะของลูกหอยนางรมบริเวณปากแม่น้ำพังราด จังหวัดระยอง
ชลี ไพบูลย์กิจกุล
วัชรพงษ์ สัญหาธรรม
เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล
สถิติการเลี้ยงหอยทะเลประจําปี 2555
แนวทางการพัฒนา
จัดมัคคุเทศก์น้อยระหว่างโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนมีการร่วมมือกับชุมชนในการสร้างบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่า
จัดฝึกทักษะอาชีพให้นักเรียนจากผู้รู้ในชุมชน
การใช้ประโยชน์
เพื่อการฝึกทักษะอาชีพในชุมชน
เพื่อสร้างได้ให้กับชุมชนและนักเรียนที่สนใจ
นางสาวปัญญาพร จันทร์พัฒน์ รหัส 080 กลุ่ม 03