Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Osteoarthritis both knee (อาการของโรค (อาการเจ็บปวด, อาการข้อติด…
Osteoarthritis both knee
-
-
-
การรักษา
การรักษาด้วยเวชศาสตร์ฟื้นฟู เพื่อลดอาการบวม เพิ่มการเคลื่อนไหว และป้องกันการผิดรูปของข้อ เช่นการใช้ไม้เท้า การใช้เครื่องช่วยเดิน รวมถึงการนวด การให้ความร้อน ความเย็นเพื่อบรรเทาอาการปวด เป็นต้น
-
-
-
ยาระงับอาการปวดที่ออกฤทธิ์ช้า เช่น glucosamine sulfate, chondroitin sulfate, hyaluronic acid เป็นต้น
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การเจาะเข่าและล้างเข่าด้วยน้ำเกลือประมาณ 2 ลิตร เพื่อทำความสะอาดข้อเข่า ลดอาการยึดติด และลดสารก่ออักเสบ
-
-
-
ปัจจัยอื่นที่เกี่ยวข้อง
อายุ ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดโรคข้อเสื่อม โรคนี้มักพบในผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ 85 จากผู้ป่วยทั้งหมด พบว่า อายุมีความสัมพันธ์เป็นอย่างมากกับการเปลี่ยนแปลงเซลล์กระดูกอ่อน ผู้ที่มีอายุมากมักพบอัตราการสร้าง และซ่อมแซมเซลล์น้อยกว่าอัตราการสลาย และการเสื่อมของเซลล์ เป็นผลทำให้เกิดโรคข้อเสื่อมตามมา
อาชีพ พบว่า อาชีพที่ยกของหนักหรือใช้งานอวัยวะบริเวณข้อต่างๆมีโอกาสสูงที่เกิดจะเกิดภาวะข้อเสื่อที่เร็วขึ้น
กรรมพันธุ์ โดยยีนของเพศหญิงที่มีผลต่อการเสื่อมของข้อกระดูกทำให้เพศหญิงมีโอกาสเกิดโรคข้อเสื่อมมากกว่าเพศชาย
น้ำหนักร่างกาย ผู้ที่มีอายุมากขึ้นมักพบมีน้ำหนักมากขึ้น โดยเฉพาะเพศหญิงเมื่อหมดวัยประจำเดือน น้ำหนักที่มากขึ้นจะมีผลต่อการกดทับ และเพิ่มแรงกดบริเวณกระดูกอ่อนหุ้มข้อต่างๆทำให้เกิดการเสื่อมของข้อได้เร็ว
ฮอร์โมนเอสโตรเจน ซึ่งฮอร์โมนนี้มีส่วนช่วยป้องกันการเสื่อของผิวกระดูกอ่อน หากฮอร์โมนมีปริมาณลดลงหรือมีน้อยจะทำให้เพิ่มอัตราการเสื่อมของผิวกระดูกอ่อนที่เร็วขึ้น
การประสบอุบัติเหตุ โดยเฉพาะการประสบอุบัติเหตุบริเวณข้อ เช่น ข้อเข่าหลุด ข้อมือหัก เป็นต้น เป็นสาเหตุทำให้ผิวหุ้มกระดูกอ่อนถูกทำลายอย่างรุนแรงมีผลทำให้เกิดการเสื่อมที่ข้อที่เร็วขึ้น
ลักษณะการเกิดโรค
โรคข้อเสื่อมเป็นความผิดปกติของข้อแบบ synovial และ diarthrodial ที่มีลักษณะเกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ เกิดกระดูกงอกบริเวณขอบข้อ และเกิดพังผืดบริเวณเยื่อหุ้มข้อ รวมถึงเกิดการเปลี่ยนแปลงชีวเคมีบริเวณข้อ
การเปลี่ยนแปลงระยะแรก มักเกิดเพียงบางส่วนของผิวกระดูกอ่อน โดยเฉพาะบริเวณที่รับน้ำหนักมาก ทำให้เปลี่ยนเป็นสีเหลืองหรือสีน้ำตาลขุ่น ผิวกระดูกขรุขระ และนิ่มลง เกิดการแตกเป็นร่องลึกเมื่อเกิดการเสื่อมมาก บางรายอาจเกิดผิวกระดูกอ่อนมีการหลุดลอกออกเป็นชั้นๆ ซึ่งอาจหลุดออกจนถึงผิวกระดูกที่อยู่ใต้กระดูกอ่อน แต่ทั่วไป เมื่อผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวทำให้เกิดการเสียดสีของข้อ รวมถึงการรับน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นจะทำให้มวลกระดูกใต้ชั้นกระดูกอ่อนมีการหนาตัว และแข็งมากขึ้น หากมีอาการเกิดมาก มักทำให้เกิดพังผืดรอบกระดูกอ่อน กระดูกอ่อนเกิดการหนาตัวกลายเป็นกระดูกงอกที่ยื่นออกจากขอบของข้อ ทำให้แลดูข้อหนา และใหญ่ขึ้น
การเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึม จะพบการสร้าง และการหลั่งกรด รวมถึงการแกนโปรตีน ซึ่งทำให้เซลล์กระดูกอ่อนเพิ่มมากขึ้น ปริมาณ collagenase เพิ่มขึ้น การสร้าง DNA เพิ่มขึ้น ทำให้ปริมาณเซลล์กระดูกอ่อนเพิ่มขึ้น แต่กระบวนการสร้างเพื่อชดเชยสิ่งที่ถูกทำลายมักไม่ทันต่อการทำลายทำให้เกิดการเสื่อมของข้อกลายเป็นโรคข้อเสื่อมตามมา
การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีของสาร และเนื้อเยื่อภายในข้อ เช่น น้ำ เส้นใยคอลาเจน และสารอินทรีย์ ซึ่งจะพบว่า มีปริมาณของน้ำเพิ่มขึ้น ขนาดเส้นใยคอลาเจนเล็กลง เส้นใยมีลักษณะหลวม ไม่ประสานกันแน่นเหมือนเดิม และปริมาณ proteoglycans มีปริมาณลดลง เกิดการเปราะ และแตกสลายง่าย
-
-