การผ่าตัดมดลูกผ่านทางช่องคลอด ( Total Vaginal Hysterectomy)

จุดประสงค์ของการผ่าตัด

ภาวะมดลูกหย่อนเป็นเหตุให้ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะได้ หรือถ่ายอุจจาระลำบาก

มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งที่เกี่ยวกับมดลูก

อาการเจ็บในอุ้งเชิงกรานซึ่งเกี่ยวข้องกับมดลูกและไม่อาจรักษาได้โดยวิธีอื่นๆ

ความผิดปกติขณะคลอด (อาทิ ภาวะเลือดไหลไม่หยุด)

พังผืดในมดลูก

เนื้องอกของมดลูกขนาดใหญ่หรือจำนวนมากจนกล้ามเนื้อมดลูกเสียไป ไม่สามารถผ่าตัดตกแต่ง ซ่อมแซมได้

เนื้องอกมดลูก

อาการเลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูกซึ่งไม่สามารถรักษาได้ด้วยวิธีอื่นๆ

การผ่าตัดมดลูกทางช่องคลอด (VAGINAL HYSTERECTOMY)

ใช้เวลาในการพักฟื้นน้อยกว่าวิธีการอื่นๆ

เกิดภาวะแทรกซ้อนน้อยกว่า

แม้จะมีรอยเย็บด้านในเช่นเดียวกับการผ่าตัดวิธีอื่น แต่เนื่องจากไม่มีการเปิดหน้าท้อง จึงไม่มีแผลปรากฏให้เห็นบริเวณผิวหนังภายนอก

มีโอกาสติดเชื้อบริเวณที่ผ่าตัดน้อยกว่า

การผ่าตัดที่ผู้ป่วยมักจะเลือกเป็นลำดับแรกๆ เนื่องจาก
ไม่ทิ้งรอยแผลเป็นหลังผ่าตัด

ความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อน

อาจเกิดความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้

ภาวะเลือดออกมากหรือเกิดลิ่มเลือด

แผลติดเชื้อภายใน แผลปริขาด

บาดเจ็บบริเวณกระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ และลำไส้

ท้องอืดชั่วคราวเนื่องจากลำไส้ไม่ทำงาน

เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์ มีความต้องการทางเพศลดลง ถึงจุดสุดยอดยากขึ้น

ผลข้างเคียงจากการผ่าตัด

อารมณ์และสภาพจิตใจ

ลำไส้และกระเพาะปัสสาวะปั่นป่วน:

อาการวัยทอง

ตกขาวและปัญหาเกี่ยวกับช่องคลอด

การพยาบาลหลังการผ่าตัด


การพยาบาลก่อนการผ่าตัด

การทําความสะอาดร่างกายและแนะนำให้ทําทุกวันตั้งแต่วันแรกที่มานอนโรงพยาบาล จนถึงเย็นวันก่อนทำผ่าตัด

เตรียมผิวหนังโดยโกนขนบริเวณสะดือจนจึงบริเวณหน้าขาอ่อนทั้งสองข้างโดย ผ่าน vulva จนถึง anus

การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอก่อนทําผ่าตัด

สวนล้างช่องคลอดด้วย 0.9% NSS

อาหารและน้ำต้องได้รับให้เพียงพอ โดยเฉพาะอาหารประเภทโปรตีน เกลือแร่และ วิตามิน

สวนอุจจาระ

การจัดท่านอน ดูแลให้ผู้ป่วยนอนราบ หรอนอนตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งขึ้นอยู่กับวิธีการระงับความรู้สึก

ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วยโดยสังเกตจากการรู้จักเวลา สถานที่และบุคคลของผู้ป่วยหลังผ่าตัด

ประเมินความรู้สึกตัวจากการได้รับยาระงับความรู้สึกโดยการซักถามความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเกี่ยวกับสภาพความเจ็บป่วยโดยทั่วไป

วัดสัญญาณชีพ

ดูแลทางด้านจิตใจอาจมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ เนื่องจากความวิตกกังวล

การสอนและแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตนขณะอยู่ที่โรงพยาบาลและอยู่ที่บ้าน

ประเมินความเจ็บปวดแผลผ่าตัด โดยสังเกตว่าพฤตกรรมความเจ็บปวดของผู้ป่วยอยู่ในระดับใด

สังเกตและตรวจดูแผลผ่าตัดทุก 15 นาทีในระยะแรกหลังผ่าตัด เพื่อสังเกตการมีเลือดออกหรือซึมจากแผลผ่าตัด

ดูแลระบบขับถ่ายปัสสาวะโดยการดูแลสายสวนปัสสาวะไม่ให้มีการอุดตันหรือหักพับงอและสังเกตลักษณะ สีจํานวนของ ปัสสาวะที่ไหลออกทางสายสวนปัสสาวะ

บรรณานุกรม

กิติรัตน์ เตชะไตรศักดิ์. (2560). ตำรานรีเวชวิทยา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทย์ ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาลัยมหิดล.

กิติรัตน์ เตชะไตรศักดิ์. (2561). ภาวะหมดระดูจากการผ่าตัด. หน่วยต่อมไร้ท่อทางนรีเวช ภาควิชาสูติศาสตร์-นรี เวชวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาลัยมหิดล.

ชัยเลิศ พงษ์นริศร. (2562). ผ่าตัดมดลูก. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562. สืบค้นจาก http://sriphat.med.cmu.ac.th/th/knowledge-22

นันทนา ธนาโนวรรณ. (2553). ตำราการพยาบาลนรีเวช (ฉบับองค์รวม). กรุงเทพฯ: วี.พริ้นท์.

Shirish S. Sheth and John Studd, 2002, MD, Vaginal hysterectomy, date retrieved October, 18, 2019, from www.amazon.com

David H. Nichols, 1995, The difficult vaginal hysterectomy, date retrieved October, 18, 2019, from www.amazon.com

Mark D. Walter,MD, 2015, Urogynecology and Reconstructive Pelvic Surgery, date retrieved October, 18, 2019, from www.elsevier.com/permission.

Phyathai Hospital. (2561). หลังผ่าตัดมดลูก ควรดูแลตนเองอย่างไรในช่วงพักฟื้น. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2562. สืบค้นจาก https://www.phyathai.com/article_detail/2503/th/


Abbott, Hannah and Wordsworth, Stephen. Perioperative Practice: Case Book. New York: McGraw-Hill Education, 2016, date October, 18, 2018

สมบูรณ์ บุณยเกียรติ. (2552). การพยาบาลและเวชปฏิบัติทางนรีเวช. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เค.ซี. พริ้นติ้ง.

เมธาพันธ์ กิจพรธีรานันท์. (2553). สูตินรีเวชวิทยาพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.

ผลกระทบ

ไม่สามารถมีลูกได้

ไม่มีประจำเดือน

click to edit

มีผลกระทบต่ออวัยวะข้างเคียงน้อยกว่า

ผลกระทบจากการใช้ยาสลบ

ข้อจำกัดของการผ่าตัดมดลูกผ่านทางช่องคลอด

เป็นมะเร็งรังไข่หรือมะเร็งมดลูกหรือปากมดลูก

ความชำนาญของแพทย์ผู้ทำการผ่าตัด

ผ่านการผ่าตัดหลายครั้งหรือมีพังผืดหนาในอุ้งเชิงกราน

การผ่าตัดแพทย์ไม่สามารถเข้าถึงเส้นเลือดที่มาเลี้ยงมดลูกได้

ขนาดมดลูกใหญ่ > 1,500 g

การพยาบาลด้านจิตใจ

สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู็ป่วย

ประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคและสาเหตุ

ให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการรักษา

เปิดโอกาสให้ผู็ป่วยและครอบครัวมีส่วนรวมในการรักษา

ประเมินความรู็ความเข้าใจหลังทำการผ่าตัด