Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Radiation ในการพยาบาลผู้ป่วยนรีเวช (การพยาบาลหลังการฉายรังสี (ออกกำลังกาย/…
Radiation ในการพยาบาลผู้ป่วยนรีเวช
การรักษามะเร็งทางนรีเวช
การพูดคุยกับผู้เชี่ยวชาญโรคมะเร็งจึงเป็นสิ่งสำคัญก่อนที่จะตัดสินใจ เพื่อการรักษาที่ดีที่สุดสำหรับผู้ป่วย
การรักษาโรคมะเร็งอาจใช้เพียงการรักษาชนิดเดียวในขณะที่บางกรณีอาจต้องได้รับการรักษาโดยการผสมผสานกันของการผ่าตัด, รังสีรักษาและเคมีบำบัด
การรักษาโรคมะเร็งทางนรีเวชขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการรวมถึงชนิดของโรคมะเร็ง, ขอบเขต (ความรุนแรงของโรค), ตำแหน่งที่อยู่และสุขภาพโดยรวมของผู้ป่วย
รังสีรักษาระยะไกล (External beam radiation therapy)
เป็นการรักษาไม่เจ็บปวดและมีความคล้ายคลึงกับการเอ็กซเรย์เพื่อวินิจฉัยโรค และมีความแม่นยำ
รังสีรักษาระยะไกลมีหลายเทคนิค
การฉายรังสีแบบ 3 มิติ (3D conformal radiotherapy ,3D-CRT)
การฉายรังสีแบบปรับความเข้ม (Intensity modulated radiation therapy ,IMRT)
การฉายรังสีแบบปรับความเข้มหมุนรอบตัวผู้ป่วย (Volumetric Modulated Radiation Therapy , VMAT)
Image-Guided Radiation Therapy (IGRT)
การฉายรังสีร่วมพิกัด (Stereotactic Radiation Therapy)
รังสีรักษาจะทำลายสารพันธุกรรมภายในเซลล์มะเร็งและทำให้เซลล์มะเร็งได้รับความเสียหายหรือตายไป
รังสีรักษาระยะใกล้ (Brachytherapy)
ขณะรับการรักษาผู้ป่วยจะไม่รู้สึกเจ็บ ใช้เวลาในการรักษาประมาณ10 -40 นาที โดยมีพยาบาลเฝ้าสังเกตอาการทางโทรทัศน์วงจรปิดด้านนอก กระบวนการโหลดแร่จะถูกควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์
High dose rate (HDR) brachytherapy ซึ่งเป็นการใส่แร่ที่ให้ปริมาณสูงในแต่ละครั้ง ทำให้ใช้เวลาในการรักษาไม่นาน
การฝังแร่/การใส่แร่ (Brachytherapy/Intracavitary irradia-tion)
การใส่แร่ผ่านไปทางเครื่องมือที่ใส่ในโพรงของร่างกาย (intracavitary brachytherapy)
การใส่แร่ผ่านทางเครื่องมือที่แทงเข้าไปในตัวก้อนมะเร็ง (internal brachytherapy)
จุดมุ่งหมายของการใช้รังสีรักษา
2) เพื่อควบคุมมิให้มีการแพร่กระจายของมะเร็งไปยังอวัยวะอื่น ๆ
3) เพื่อบรรเทาอาการหรือเพื่อการรักษาแบบประคับประคอง (palliative radiotherapy)
1) เพื่อรักษาโรคให้หายขาด
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนระยะหลัง (late complica-tions)
เกิดภายหลังรับการรักษาด้วยรังสีครบแล้ว เป็นเวลาหลายเดือนหรือเป็นปี
การอักเสบเรื้อรังของเนื้อเยื่อและหลอดเลือดหลังได้รับรังสี โดยมีอาการภาวะลำไส้อุดตัน ช่องคลอดตีบแคบ
เริ่มมีอาการแสดงใน 2 ปีแรก หรืออาจพบอาการดังกล่าวไปแล้ว นานกว่า 5 - 10 ปี ภายหลังการรักษาไปแล้ว
ภาวะแทรกซ้อนในระยะเฉียบพลัน (acute complications)
เกิดขึ้นระหว่างการรักษาและมีระยะเวลาประมาณ 6 - 12 สัปดาห์หลังได้รับรังสีรักษาครบแล้ว
เกิดการอักเสบอย่างเฉียบพลันของอวัยวะต่าง ๆ ที่ได้รับรังสี เช่น ผื่นคันหรือรอยแดงที่ผิวหนังที่ได้รับรังสี
อาการจะดีขึ้นและหายได้เองในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ถึง 3 เดือนหลังการรักษา
การพยาบาลก่อนการฉายรังสี
การพยาบาลทางด้านร่างกาย
การตรวจร่างกาย การซักประวัติ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจพิเศษทางเอ็กซเ์รย์ ตรวจหรือรักษาพเิศษอื่นๆเพิ่มเติม
แนะนำเกี่ยวกับเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย
แนะนำเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
ดูแลรักษาความสะอาดร่างกายทั่วไป
ซักประวัติโรคประจำตัวต่างๆ และการตั้งครรภ์
การรับประทานยาซึ่งใช้รักษาโรคอื่นๆที่ผู้ป่วยเป็นอยู่
การตรวจนับเมล็ดเลือด
การพยาบาลทางด้านจิตใจ
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้ป่วย
ให้ความรู้และข้อมูลต่อผู้ปุวยและญาติ ขั้นตอนการรักษา เกี่ยวกับการฉายรังสี
การฉายรังสีต้องใช้เวลา 4-6 สัปดาห์ เตรียมการทำงาน การลา การเดินทาง ที่พักให้พร้อม
แนะนำกฎระเบียบโรงพยาบาล กำหนดเวลา และแผนการรักษาของแพทย์
ปลอบโยนและให้กำลังใจเพื่อให้ผู้ป่วยสบายใจ ลดความกังวล
การพยาบาลหลังการฉายรังสี
ออกกำลังกาย/ พักผ่อน
แนะนำให้อยู่ในที่อากาศถ่ายเทดี ไม่ควรอยู่ในสถานที่แออัด
แนะนำการพักผ่อนอย่างพอเพียง
การมาตรวจตามแพทย์นัดทุกครั้ง
การรับประทานอาหาร
แนะนำอาการผิดปกติต่างๆ
การดูแลผิวหนังบริเวณที่ฉายรังสี
การพยาบาลระหว่างการฉายรังสี
เบื่ออาหาร ( Anorexia )
ความต้านทานโรคต่ำ ซีด และเลือดออกง่าย( Bone marrow Suppression)
อาการอ่อนล้า ( Fatigue )
การพยาบาลเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่
การเปลี่ยนแปลงผิวหนังบริเวณที่ฉายรังสี (Radiation skin reaction)
สมาชิกกลุ่ม
นางสาวสุปราณี แสงจ้า เลขที่ 56
นางสาวศลิษา หรรษา เลขที่ 13
นางสาวสิริรัตน์ มุ่งอาษา เลขที่ 38
นางสาวอารียา จันทร์กลิ่น เลขที่ 75
นางสาวสุนิสา จันอยู่ เลขที่ 54
นางสาวอาทิตยา ประสาน เลขที่ 72
นางสาวสุดารัตน์ มีวงษ์ เลขที่ 46
นางสาวไอรดา พงษ์ประเสริฐ เลขที่ 80
นางสาวสุภาภรณ์ แสงวุธ เลขที่ 61
นางสาวอารียา สูงสันเขต เลขที่ 81
นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3C
Reference
ณัฏฐ์พัชร์ แสงเปลี่ยน.Nursing Management
in radiation oncology.[Power Point].สืบค้นจาก
https://www.spr.go.th/images/anuch/nursing.pdf
รวี เรืองกาญจนเศรษฐ์.“การใส่แร่” ทางเลือกการรักษาโรคมะเร็งปากมดลูก.[เว็บบล็อค].สืบค้นจาก
https://med.mahidol.ac.th/ramachannel/home/article/การใส่แร่-ทางเลือกการ/
สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา.มะเร็งทางนรีเวช.[เว็บบล็อค].สืบค้นจาก
https://www.chulacancer.net/patient-knowledge-inner.php?gid=26
สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา.ความรู้ทั่วไปและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการใส่แร่.[เว็บบล็อค].สืบค้นจาก
https://www.chulacancer.net/services-list-page.php?id=469
สาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา ฝ่ายรังสีวิทยา.การฉายรังสีสำหรับผู้ป่วยมะเร็ง.[เว็บบล็อค].สืบค้นจาก
https://www.chulacancer.net/patient-knowledge-inner.php?gid=128
สวนีย์ บำรุงสุขและกุสุมา กังหลี.(2557).ความเหนื่อยล้าของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับรังสีรักษา : แนวทางการบรรเทาความเหนื่อยล้า.วารสารพยาบาลทหารบกJournal of The Royal Thai Army Nurses. 15(3).162-168.สืบค้นจาก
https://www.tci-thaijo.org/index.php/JRTAN/article/view/30478/26291