Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช (ทฤษฎีทางการพยาบาล (การประยุกต์ใช้ทฤษฏ…
ทฤษฎีทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
ด้านชีววิทยา
ทฤษฏีชีวภาพทางการแพทย์ (Biomedical)
แนวคิดหลัก
เชื่อว่าความเจ็บป่วยทางจิตมีสาเหตุมาจาก
พยาธิสภาพของสมอง ( โรคเนื้องอกในสมอง การติดเชื้อ มีไข้สูง กายวิภาคของสมองผิดปกติ อุบัติเหตุที่ทาให้สมองได้รับความกระทบกระเทือน)
พยาธิสภาพของโรคในระบบอื่นๆที่ส่งผลต่อสมอง (โรคตับ โรคไต ภาวะHypoglycemia ภาวะElectrolyte imbalance โรคไทรอยด์)
จากสารพิษ (สุรา สารเสพติดต่างๆ)
พันธุกรรม
การขาดออกซิเจนขณะตั้งครรภ์หรือขณะคลอด
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การชัก (การชักจะทาให้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีในสมองความผิดปกติของระบบโครงสร้างของสมอง)
การรักษา
การรักษาด้วยยา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
การผ่าตัดสมองเพื่อลดอาการทางจิตต่าง ๆ ของผู้ที่มีอาการทางจิตรุนแรงและเรื้อรัง
การใช้ฮอร์โมนบาบัด และโภชนะบาบัด
ประเด็นสาคัญ
บุคคลที่มีความแปรปรวนทางด้านอารมณ์และจิตใจ คือ ผู้ที่เจ็บป่วยเช่นเดียวกับโรคฝ่ายกาย
สาเหตุของการเจ็บป่วยนั้นเชื่อว่าอย่างน้อยที่สุดเกิดจากความผิดปกติของการทางานของร่างกายบางส่วน ในปัจจุบันเชื่อว่ามาจากการทางานของสมอง
ความเจ็บป่วยนั้นจะมีลักษณะของโรคและมีอาการแสดงที่สามารถนามาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการวินิจฉัยและจาแนกโรคได้
โรคทางจิตเวชมีการดาเนินโรคที่แน่นอนและสามารถพยากรณ์โรคได้
โรคทางจิตเวชสามารถรักษาได้โดยการรักษาแบบฝ่ายกาย เช่น การรักษาด้วยยา การผ่าตัด
สาเหตุปัจจัย
ระดับของสารสื่อประสาท
โดพามีน (Dopamine)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวที่ไม่อยู่ในอานาจของจิตใจ การตัดสินใจการใช้เหตุผล การรู้จักตนเอง โดยระดับของโดพามีนที่มากเกินไปมีความสัมพันธ์กับการเจ็บป่วยเป็นโรคจิตเภทและอาการคลุ้มคลั่ง ส่วนระดับของพามีนที่น้อยเกินไปมีความสัมพันธ์กับโรคซึมเศร้า
นอร์อีพิเนฟรีน (Norepinephrine)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียด การแสดงออกทางอารมณ์เมื่อถูกกระตุ้นหรือความสามารถในการจดจ่อกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การทางานของนอร์อีพิเนฟรีน มีความสัมพันธ์กับโรควิตกกังวลและโรคอารมณ์แปรปรวน โดยระดับของนอร์อีพิเนฟรีนที่มากเกินไปจะทาให้เกิดอาการคลุ้มคลั่ง และระดับของ นอร์อีพิเนฟรินที่น้อยเกินไปจะทาให้เกิดอาการซึมเศร้า
ซีโรโตนิน (Serotonin)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับวงจรของการหลับตื่น การควบคุมความรู้สึกอยากอาหาร และการรับรู้ความเจ็บปวด ระดับของซีโรโตนินมีความสัมพันธ์กับอารมณ์แปรปรวน โรคย้าคิดย้าทาและอาจมีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคจิตเภท
อะเซททิลโคลีน (Acetyl choline)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและความจาซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับผู้ป่วยอัลไซเมอร์
กาบา (Gamma Aminobutyric Acid, GABA)
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของระบบประสาทที่มากเกินไป โดยทาหน้าที่ให้สมองอยู่ในสมดุล ระดับของกาบาจะลดลงในผู้ป่วยลมชักและโรควิตกกังวล
ความผิดปกติของโครงสร้างและการทางานของสมอง
ความเสื่อมของสมองตามวัย (Senile dementia)
ความเสื่อมจากหลอดเลือดสมองตีบ (Arteriosclerosis dementia)
การอักเสบของสมอง (Encephalitis)
เนื้องอกของสมอง (Intracranial Neoplasm)
สมองพิการจากซิฟิลิส (Syphilis Meningoencephalitis)
พันธุกรรม
เชื่อว่า พันธุกรรมเป็นสาเหตุทาให้เกิดการเจ็บป่วยทางจิตเวช ซึ่งในปัจจุบันมีการศึกษาเกี่ยวกับพบว่า การเจ็บป่วยทางจิตน่าจะเป็นผลมาจากการทางานของกลุ่มยีนส์ที่บกพร่องมากกว่าความผิดปกติของยีนส์เพียงตัวใดตัวหนึ่ง รวมทั้งอาจจะเป็นผลมาจากปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
สารจากต่อมไร้ท่อ สารจากต่อมต่าง ๆ ในร่างกาย
มีผลต่อร่างกาย เช่น ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (Hyperthyroidism) มีอาการหงุดหงิดกระวนกระวาย มีความเครียด มีอาการซึมเศร้าและเฉื่อยชา ความจาเสื่อมเมื่ออาการทางจิตเป็นมาก อาจกลายเป็นโรคจิตหรือโรคจิตเภท สาหรับโรคขาดฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ (Hypothyroidism) ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย เฉื่อยชา ความจาเสื่อม อารมณ์เฉยเมยไม่อยากพูด ประสาทหลอน และมีอาการซึมเศร้า
สารพิษต่าง ๆ
ถ้าร่างกายได้รับสารพิษ เช่น กัญชา มอร์ฟีน เฮโรอีน ฝิ่น โคเคอีน ยานอนหลับ แอมเฟตตามีน (ยาบ้า) เมื่อใช้สารต่าง ๆ เหล่านี้จนติด หากไม่ได้กินหรือเสพจะทาให้เกิดอาการแปรปรวนของจิตได้ เช่น หงุดหงิด ทุรนทุราย หาวนอน ประสาทหลอน หมดความละอาย ก้าวร้าว ชอบทะเลาะวิวาท คุมสติไม่อยู่และมักทาร้ายร่างกายผู้อื่น
การนำมาประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
พยาบาลรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยทางชีวภาพที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต และความเจ็บป่วยทางจิต เช่น การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการนอน การใช้ยาหรือสารเสพติด
พยาบาลกาหนดปัญหาและความต้องการของผู้ป่วยที่มาจากการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพ เช่น พักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากรูปแบบการนอนเปลี่ยนแปลง
วางแผนการพยาบาลที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบทางชีวภาพของผู้ป่วย
ปฏิบัติการพยาบาลเพื่อการส่งเสริมสุขภาพจิตและการป้องกันการเจ็บป่วยทางจิต รวมทั้งบรรเทาผลกระทบที่มาจากการเจ็บป่วยทางจิต
ประเมินผลลัพธ์ของการปฏิบัติการพยาบาล จากการเปลี่ยนแปลงทางชีวภาพที่เป็นผลมาจากการปฏิบัติการพยาบาล
ด้านจิตสังคม
ทฤษฏีทางจิตวิทยา (Psychological theory)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory)
Sigmund Freud บิดาเเห่งทฤษฎีจิตวิเคราะห์
หลักการ 3 ประการ ในการทำความเข้าใจมนุษย์
3.Psychosexal Development (พัฒนาการด้านบุคลิกภาพ)
มนุษย์มีพลังทางจิตที่ เรียกว่า ลิบิโด เคลื่อนที่ตามระยะพัฒนาของมนุษย์
1.ระยะพึงพอใจทางปาก (Oral stage) 0-1 ปี
2.ระยะพึงพอใจทางทวารหนัก (Anal stage) 1-3 ปี
4.ระยะความต้องการเเฝง (Latency stage) 6-14 ปี
5.ระยะผู็ใหญ่วัยเจริญพันธ์ (Genital stage)
3.ระยะพึงพอใจในอวัยวะเพศ (Phallic stage) 3-5 ปี
เชื่อว่า เพศเป็นศูนย์กลางของความพอใจของมนุษย์ โดยมีการเเสวงหาความสุขทางเพศมาตั้งเเต่เด็ก
เน้น สัญชาตญาณทางเพศ (Psychosexual Delvelopment)
2.Structural of mild (โครงสร้างทางจิต)
3.Superego
เป็นเสียงเเทนบิดามารดา ว่าอะไรควรทำ หรือไม่ควรทำ
โดยรับค่านิยมเเละมาตรฐานจริยธรรมของบิดามารดา
เกิดจากช่วงอายุ 3-6 ปี
2.Ego
สามารถปรับตัวให้เกิดสมดุลระหว่างความต้องการของ Id โลกภายนอก เเละ Superego ได้
พัฒนาความตนเองตามความจริง โดย อาศัยเหตุเเละผล กลั่นกรอง ปรับตัวเหมาะสม
เป็นบุคลิกภาพ ที่พัฒนาจาการที่มีปฎิสัมพันธ์กับ โลก ภายนอก บุคคลที่มีบุคลิกภาพปกติ ตั้งเเต่ทารก
1.Id
มีหลักการตอบสนองความต้องการของตัวเองเท่านั้น
เป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพที่ติดตัวเรามาตั้งเเต่เกิดเเต่เป็นจิตไร้สำนึก
ไม่ได้รับการขัดเกลา เน้นเเสวงหาความพึงพอใจ
1.ระดับของจิตใจ (Level of Mild)
Subconcious level (ระดับจิตใต้สำนึก)
อาศัยเหตุการณ์
Conscious level (ระดับจิตสำนึก)
รู้ตัว มีสติ รับรู้ได้
Unconcious level (ระดับจิตไร้สำนึก)
ส่วนลึก
เชื่อว่า การเจ็บป่่วยทางจิตป่วยทางจิตเกิดจากความขัดเเย้งใจในวัยเด็ก เเละขาดการปรับตัวต่อความวิตกที่เกิดขึ้น
เชื่อว่า พฤติกรรมของมนุษย์ทุกพฤติกรรมมีความหมาย การทำของกระทำของมนุษย์มีพลังจิตส่วนหนึ่งผลักดันให้กระทำ
ทฤษฎีกลุ่มมนุษย์นิยม (Humanistic Threory)
Abraham maslaw
Maslow'S Hierarchy of Needs
ขั้นที่ 4 ความต้องการการยอมรับยกย่อง (Acception and Recognition Need)
ขั้นที่ 7 สุนทรียะ (Asthetic Need) ศักดิ์ครี มีคุณค่า
ขั้นที่ 5 ความต้องการตระหนักในตนเอง (Self actualization Need)
ขั้นที่ 6 ความต้องการที่จะรู็เเละเข้าใจ (Desire to Know) เป็นการเเสวงหา
ขั้นที่ 1 ความต้องการทางด้านร่างกาย (physical Need)
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรัก เเละความเป็นเจ้าของ (love and Belonging Need)
ขั้นที่ 2 ความต้องการต้องการปลอดภัย (Safety Need)
เน้นว่า มนุษย์เกิดมาดี เเละพร้อมที่จะทำสิ่งที่ดี ถ้าได้รับการตอบสนองความต้องการกับตนเอองทั้งสิ้น
เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองไปในทางที่ดี มีความต้องการพื้นที่จะตอบสนอง รับผิดชอบเเละเข้าใจตนเอง
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal theory)
พัฒนาการด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
ระยะวัยเด็กตอนปลาย (6 ปี-9 ปี) เป็นที่มีสังคมขนาดกว้างจากการเข้าโรงเรียน
ระยะวัยทารก (เเรกเกิด-1 ปีครึ่ง) เรียนรู้การเคลื่อนไหวเเละประสาทสัมผัส จากสัมพันธภาพกับบิดามารดา
ระยะวัยผู้ใหญ่ (21 ขึ้นไป) ผู้ที่่มีพัฒนาการที่ดีตลอดจะเป็นผู็ใหญ่ที่มีวุฒิภาวะ
ระยะวัยเด็กตอนต้น (1 ปีครึ่ง-6 ปี) เรียนรู้การสื่อสาร จากสัมพันธ์ภาพกับผู้อื่น
ระยะวัยรุ่นตอนต้น (12 ปี-14 ปี) เริ่มสนใจเรื่องเพศ
ระยะวัยก่อนวัยรุ่น (9 ปี-12 ปี) มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับเพื่อนุร่นเดียวกัน
ระยะวัยรุ่นตอนปลาย (14 ปี-21 ปี) เรื่มรู็จักคบหาสมาคมกับผู้อื่นอย่างผูกพัน
ทฤษฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพลาว
Psychological mothering 3 ขั้นตอน
2.ยอมรับให้เกียรติเเละสนองตอบความพร้อมเเละความริเริ่มสัมพันธภาพ
1.การยอมรับโดยไม่มีเงื่อนไขในการมีสัมพันธ
3.สนับสนุนให้ผู้ป่วยมีสัมพันธภาพที่เข้มเเข็งจนกระทั่งประสบความสำเร็จ
กระบวนการให้ความช่วยเหลือ 5 ระยะ
3.ระยะการสำรวจปัญหาของผู้ป่วย : ใช้เทคนิคการสนทนา
1.ระยะเตรียมสร้างสัมพันธภาพเพื่อบำบัด : รวบรวมข้อมูล เตรียมตนเอง
5.ระยะสิ้นสุดสัมพันธภาพ : ลด Separation Anxity
4.ระยะการเเก้ไขปัญหา : ผสมผสาน Theory
2.ระยะเริ่มสร้างสัมพันธภาพเพื่อบำบัด : เเนะนำตัว
เน้นสังคมหรือประสบการณ์การมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
มนุษย์จำเป็นต้องได้รับความต้องการทางสรีระเเละการมีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลอย่างเพียงพอ คู่ขนานไปกับเเรงผลักดัน ความพึงพอใจ เเละความมั่นคง
เชื่อว่ามนุษย์มีความต้องการพื้นฐาน 2 ประการ
2.ความต้องการความมั่นคง (Security)
1.ความต้องการความพึงพอใจ (Satisfaction)
Self system ความรู็สึกต่อตนเอง
Not Me ไม่ใช่ฉัน
Good me ฉันดี
Bad me ฉันเลว
พฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกของธอร์นไดค์
โดยการลองผิดลองถูก
กฎการเรียนรู้
กฎสนับสนุนการเรียนรู้ย่อย 5 กฎ
กฎแห่งการถ่ายโยงจากสิ่งเร้าเก่าไปสู่สิ่งเร้าใหม่
กฎแห่งการแสดงพฤติกรรมการตอบสนองหลายรูปแบบ
กฎแห่งการตอบสนองโดยอาศัยประสบการณ์ที่คล้ายคลึงหรือเกี่ยวข้องกัน
กฎแห่งการเตรียมพร้อม
กฎการเลือกพฤติกรรมตอยสนอง
กฎการเรียนรู้หลัก 3 กฎ
กฎแห่งการฝึกหัด
กฎแห่งความพอใจ
กฎแห่งความพร้อม
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
กรงที่มีกลไกพิเศษ
ปลาแซลมอน
แมว อายุ 8 เดือน
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน
ครูกำหนดจุดประสงค์ให้ชัดเจน
ครูต้องจัดกิจกรรม บทเรียน เป็นลำดับขั้นตอน
ก่อนเริ่มสอนผู้เรียนควรมีความพร้อมที่จะเรียน
ให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนและทบทวนสิ่งที่เรียนไปแล้ว
ครูให้คำชมเชยหรือรางวัล
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
จนกว่าจะพบรูปแบบที่ดีหรือเหมาะสมที่สุด
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ
การทดลอง
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนการวางเงื่อนไข
ผงเนื้อ : สุนัขน้ำลายไหล
สั่นกระดิ่ง : สุนัขส่ายหัว กระดิกหาง
ขั้นที่ 3 ขั้นการเรียนรู้
ตัดสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขออก คือ ผงเนื้อ
สั่นกระดิ่ง : สุนัขน้ำลายไหล
ขั้นที่ 2 ขั้นการวางเงื่อนไข
สั่นกระดิ่ง+ผงเนื้อ : สุนัขน้ำลายไหล
อุปกรณ์ที่ใช้ทดลอง
สุนัข
ผงเนื้อ
กระดิ่ง
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน
การวางเงื่อนไข เกี่ยวกับพฤติกรรมทางอารมณ์
การสรุปความเหมือนและแยกความต่าง
คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข
การเรียนรู้เกิดจากการวางเงื่อนไข
กฎการเรียนรู้
กฎแห่งการลดภาวะ
กฎแห่งสรุปกฏเกณฑ์
กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพ
กฎแห่งความแตกต่าง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำของสกินเนอร์
อุปกรณ์ที่ใช้ทดลอง
หนู
กล่องสกินเนอร์
การทดลอง
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการทดลอง
ให้หนูคุ้นชินกับกล่อง
สร้างแรงขับให้หนูเกิดความหิวมาก ๆ
ขั้นที่ 2 ขั้นการทดลอง
ปล่อยหนูเข้าไปในกล่องสกินเนอร์
สกินเนอร์ปล่อยอาหารลงไปในกล่องทันที
ทุกครั้งที่หนูหิวจะใช้เท้าหน้ากดลงบนคานเสมอ
เท้าของหนูบังเอิญแตะลงใปบนคาน
ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบการเรียนรู้
หนูแสดงอาการกดคานทันทีเมื่อเข้าไปในกล่องสกินเนอร์
หนูเกิดการเรียนรู้ว่าการกดคานจะทำให้ได้กินอาหาร
การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการเสริมแรง
เสริมแรงทางลบ
นำออก
เสียงดัง
คำตำหนิ
เสริมแรงทางบวก
รางวัล
คำชมเชย
การนำไปใช้ในการเรียนการสอน
การลงโทษที่รุนแรง ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้/จำสิ่งที่เรียนรู้ไม่ได้
2.การเว้นระยะการเสริมแรง/เปลี่ยนรูปแบบการเสริมแรง จะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวร
การให้การเสริมแรงจะช่วยเพิ่มอัตราการตอบสนองที่เหมาะสม
เน้นการกระทำ
ฝึกหนูกดคาน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
การนำมาใช้ในการเรียนการสอน
การเปลี่ยนพฤติกรรมให้เด็กนักเรียนชอบเรียนในวิชาที่ไม่ชอบเรียน
การทดลอง
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนวางเงื่อนไข
เสียงดัง : ตกใจกลัว+ร้องไห้
หนูขาว : ไม่เป็นสิ่งที่อัลเบิร์ตกลัว กล้าจับต้องเล่นด้วย
ขั้นที่ 2 ขั้นระหว่างวางเงื่อนไข
หนูขาว (วางเงื่อนไข) + เสียงดัง (ไม่วางเงื่อนไข) : ตกใจกลัวร้องไห้
ขั้นที่ 3 ขั้นการเรียนรู้
หนูขาว : ตกใจกลัวร้องไห้
ตัดสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข คือ เสียงดัง ออก
ทำให้ด.ช.อัลเบิร์ต กลัวหนูขาว
แตกต่างจากพาฟลอฟ คือ ใช้คนในการทดลอง
การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ทำให้เกิดการเรียนรู้
จิตสังคม
Ericsson
พัฒนาการ 8 ขั้น
Integrity/ Despair มั่นคง/หมดหวัง > 60 ปี
Indentity/identity diffusion มีเอกลักษณ์ประจำตัว/สับสนในบทบาทตนเอง 12-20 ปี
Intimacy and solidarity/Isolation ใกล้ชิดสนิทสนม/การแยกตัว 20-40 ปี
Trust/mistrust ไว้วางใจ/ไม่ไว้วางใจ 0-2 ปี
Autonomy/Shame and doubt เชื่อมั่นในตนเอง/ละอายสงสัย 2-3 ปี
Initiative/guilt คิดรึเริ่ม/รู้สึกผิด 3-6 ปี
Industry/inferiority ขยั่นหมั่นเพียร/รู้สึกเป็นปมด้อย 6-12 ปี
Generativity/Self-absorption บำรุงส่งเสริมผู้อื่น/พะวงเฉพาะตน 40-60 ปี
[ทฤษฏีทางสังคม (Social theory)]
ทฤษฎีทางการพยาบาล
การประยุกต์ใช้ทฤษฏีทางการพยาบาล
การประเมินปัญหา (assessment)
การวางแผนทางการพยาบาล
การประเมินผลทางการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล เช่น การสอน การให้คำปรึกษา
วินิจฉัยทางการพยาบาล
ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม
สนับสนุนผู้ที่มีปัญหาสุขภาพให้สามารถดูแลตนเองให้สมบูรณ์ โดยใช้ศาสตร์และศิลป์รวมทั้งเทคโนโลยีในการดูแลช่วยเหลือ
ทฤาฎีสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของเพบพาว
การสร้างสัมพันธภาพที่แน่นอนระหว่างบุคคลที่จะสามารถทำให้บุคคลเกิดการเรียนรู้และมีประสบการณ์ที่กว้างไกล
ทฤษฎีการปรับตัวของรอย
เน้นการทำงานในร่างกายทั้งภายในและภายนอกอย่างมีระบบ มีระบบย่อยในระบบใหญ่ มีการปรับตัวให้คงสภาวะสมดุล
ทฤษฎีความสำเร็จตามจุดมุ่งหมายของ King's theory
มองบุคคลเป็น 3 ระบบ บุคคล, ระหว่างบุคคล, สังคม เน้นบทบาทของพยาบาลในการบริการแก่บุคคลในลักษณะองค์รวม อาศัยปฏิสัมพันธ์กับบุคคลในการนำไปสู่เป้าหมายของการให้การพยาบาล