Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เนื้องอก (การวินิจฉัย (จากประวัติและอาการของผู้ป่วย (ซักประวัติผู้ป่วยมักใ…
เนื้องอก
การวินิจฉัย
- จากประวัติและอาการของผู้ป่วย
-
-
แต่ผู้ป่วยส่วนหนึ่งซึ่งซักประวัติจะ
ไม่มีอาการผิดปกติแต่อย่างใดอาจจะวินิจฉัยพบโรคจากการตรวจร่างกายประจำปี
- การตรวจร่างกายและการตรวจภายใน
-
-
- การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
สามารถบ่งบอกลักษณะของก้อน
ได้ชัดเจนขึ้น สามารถแยกก้อนของมดลูกและรังไข่ได้ ซึ่งจะช่วยในการวินิจฉัยแยกโรคได้แม่นยำขึ้น
4.การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงพร้อมกับการฉีดน้ำเกลือเข้าโพรงมดลูก(Saline infusion sonohysterographysis ; SIS )
-
- การใช้กล้องส่องตรวจโพรงมดลูก (diagnostic hysteroscopy)
-
- Magnetic Resonance Imaging (MRI)
-
-
อาการและอาการแสดง
- เลือดระดูออกมากผิดปกติ และมานานกว่าปกติ(menorrhagia)
- อาการจากการถูกกดเบียดของอวัยวะข้างเคียง(pressure symptoms)
-
- คลำพบก้อนในท้องน้อย (palpablemass)
- มีภาวะมีบุตรยาก (infertility)
-
ตรวจวินิจฉัยแยกโรค
1.Adenomysis
ผู้ป่วยมักมีอาการปวดระดูค่อนข้างมาก ร่วมกับมีระดุมากผิดปกติ การตรวจภายในจะพบว่ามดลูกส่วนใหญ่มีขนาดปกติหรือโตเท่ากับมดลูกขณะตั้งครรภ์ 12-14 สัปดาห์ มดลูกมีลักษณะกลมโตเท่ากันทุกด้าน (Symmetrical or global enlagrement)
ตรวจพบร่องรอยของโรคเยื่อบุมดลูกต่างที่ร่วมด้วย โรคนี้พบได้บ่อยและสามารถพบร่วมกับเนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูก
-
3.มะเร็งกล้ามเนื้อมดลูก
-
ตรวจร่างกายและตรวจภายในพบว่า ก้อนมีลักษณะแข็ง ตะปุ่มตะป่ำ ค่อนข้างติดแน่นในอุ้งเชิงกราน หรืออาจพบการแพร่กระจายของโรคไปยังอวัยวะอื่นๆ (Distant metastasis)
-
-
-
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
เนื่องจากสตรีวัยเจริญพันธุ์ที่มีเนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูกส่วนใหญ่มักจะไม่มีอาการวัตถุประสงค์ของการพยาบาลสตรีที่มีเนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูกก่อนผ่าตัดจึงขึ้นอยู่กับแผนการรักษา ได้แก่ การเฝ้าสังเกตอาการ การรักษาด้วยยา และการผ่าตัด ดังนี้
- หากผู้ป่วยมีอายุน้อยกว่า40ปี โสด ไม่มีบุตร อาการไม่รุนแรง ก้อนเนื้องอกไม่โตมากนัก พยาบาลควรให้คำแนะนำเรื่องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล โดยเฉพาะการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ การเปลี่ยนผ้าอนามัยที่ถูกวิธี และการสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ เช่น ปัสสาวะบ่อยขึ้น อาการซีด
- หากผู้ป่วยมีอายุระหว่าง40-50ปี มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดเพิ่มมากขึ้น คลำได้ก้อนและมดลูกโตขึ้นเล็กน้อย แพทย์อาจรักษาด้วยยาNSAIDยาประเภท GnRH analogue หรือยาเม็ดคุมกำเนิด ควรให้คำแนะนำผู้ป่วยเกี่ยวกับการรับประทานยาที่ถูกต้องตามคำสั่งการรักษา การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก ตับ ไข่ ควรหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธุ์ในขณะที่มีเลือดออกทางช่องคลอด หมั่นสังเกตอาการซีด มีเลือดออกเพิ่มมากขึ้น ปัสสาวะบ่อยขึ้น
- หากผู้ป่วยมีอายุใกล้หมดระดู มีบุตรเพียงพอแล้ว อาการเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดรุนแรงมากขึ้น คลำได้ก้อนและมดลูกโตขึ้นชัดเจน มีอาการกดเบียดอวัยวะข้างเคียงเพิ่มขึ้น แพทย์มักจะทำการผ่าตัดให้ ดังนั้น พยาบาลควรให้คำแนะนำในเรื่องต่อไปนี้
3.1 ประเมินความพร้อมความเข้าใจและความพร้อมของผู้ป่วยเพื่อรับการผ่าตัดตลอดจนรับฟังปัญหา ปลอบโยน ให้กำลังใจผู้ป่วยกรณีที่ต้องตัดมดลูก ท่อนำไข่ และรังไข่ทั้งสองข้างเพราะทำให้ไม่มีระดูและขาดฮอร์โมนเอสโตรเจนอย่างถาวร
-
-
3.4 เตรียมควมมสะอาดบริเวณหน้าท้องเพื่อการผ่าตัด โดยโกนขนตั้งแต่ใต้ลิ้นปี่จนถึงหัวเหน่าวทั้งสองข้างpaint ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ สวนล้างช่องคลอดและสวนอุจจาระเพื่อความสะอาดและลดการติดเชื้อทั้งก่อนและหลัง
3.5 ใส่สายสวนปัสสาวะชนิดคาสาย(Foley's catheter) เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่างและลดอันตรายจากการผ่าตัดโดนกระเพาะปัสสาวะ
3.6 เปลี่ยนเสื้อผ้าให้เรียบร้อย เก็บสิ่งของมีค่า เครื่องประดับ ฟันปลอม แว่นตา คอนแทคเลนส์ และอื่นๆ ตรวจสอบความถูกต้องของป้ายข้อมืออีกครั้งก่อนส่งไปห้องผ่าตัด
3.7 เตรียมความพร้อมในการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด โดยให้คำแนะนำเกี่ยวกับการไอ และการหายใจอย่างมีประสิทธิภาพ การพลิกตะแคงตัวหลังผ่าตัด การประคองแผลผ่าตัด การประเมินระดับความเจ็บปวด(level of pain score)
-
3.9 เตรียมเจาะเลือดเพื่อส่งตรวจหาหมู่เลือด(Blood grop),CBC,Electrolytes,Hct,Hb ถ้าพบว่าHct<30%ควรรายงานแพทย์และเตรียมให้เลือดทดแทน
หลังผ่าตัด
- ประเมินระดับความรู้สึกตัว โดยการถามชื่อ-สกุล การตอบคำถาม การทำความคำสั่ง และพฤติกรรมที่แสดงออก ระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นหลังผ่าตัด เนื่องจากผู้ป่วยยังมีอาการสะลึมสะลือจากการดมยาสลบ ควรยกราวกั้นเตียงขึ้นทั้งสองข้างทุกครั้งหลังให้การพยาบาล
- ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึกขณะผ่าตัด เช่น อาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ อาการชาบริเวณขาทั้งสองข้างหรือคันตามร่างกาย ดูแลให้ทางเดินหาบใจโล่ง ป้องกันไม่ให้มีการสำลักหากมีอาเจียน
- ประเมินและบันทึกปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัดหรือทางช่องคลอด อาการแสดงของการตกเลือดภายในช่องท้อง เช่น ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว ความดะนโลหิตต่ำ กระสับกระส่าย หากพบความผิดปกติดังกล่าวควรให้การช่วยเหลือและรายงานแพทย์ทันที
- ประเมินและบันทึกระดับความเจ็บปวดทุก4ชั่วโมง กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจและไออย่างมีประสิทธิภาพ พลิกตะแคงตัวทุก2ชั่วโมง อธิบาบวิธีการบรรเทาปวดโดยการหายใจและผ่อนคลาย หากความเจ็บปวดมากกว่าหรือเท่ากับ3ควรดูแลให้ได้รับยาแก้ปวดเช่paracetamol, Morphine หรือ Pethidine ทุก4-6ชั่วโมง ตามคำสั่งแผนการรักษาของแพทย์และติดตามอาการหลังได้รับยา ร่วมทั้งผลข้างเคียงของยา
- ประเมินการติดเชื้อ เช่น มีไข้สูง หยาวสั่น และบันทึกลักษณะที่พบจากการติดเชื้อ หากพบความผิดปกติควรรายงานแพทย์ ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำพร้อมทั้งยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา ดูแลความสุขสบาย บริเวณแผลผ่าตัด เช็ดตัวทำความสะอาดร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์
- ประเมินการทำงานของลำไส้ภายหลังผ่าตัด8ชั่วโมงหากพบbowel sound positive ดูแลให้ได้รับอาหารและน้ำทางปาก ตามแผนการรักษา หลีกเลี่ยงอาหารประเภทนม ถั่ว น้ำอัดลม หรืออาหารย่อยยาก กระตุ้นให้ผู้ป่วยมีการเคลื่อนไหวร่างกายโดยเร็วภายหลังผ่าตัด24-48ชั่วโมง เพื่อช่วยส่งเสริมการไหลเวียนเลือดและการทำงานงานของระบบทางเดินอาหาร
- ประเมินภาวะสมดุลน้ำและelectrolytesด้วยการติดตามปริมาณสารน้ำที่ได้รับและปัสสาวะของผู้ป่วย ควรมีปริมาณปัสสาวะมากกว่า120cc/hrโดยเฉพาะ4ชั่วโมงแรก
- ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวก่อนกลับบ้าน เช่นการดูแลแผลผ่าตัด การตัดไหม การพักผ่อน การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ การรับประทานยาตามคำสั่งของแพทย์ งดมีเพศสัมพันธ์ในระยะ6สัปดาห์หลังผ่าตัดหรือก่อนมาตรวจตามนัดเพื่อป้องกันเลือดออกและการติดเชื้อ ทำจิตใจให้เบิกบานแจ่มใส ไม่เครียด สังเกตอาการผิดปกติเช่น มีไข้สูง ปวดท้องมาก แผลบวมแดง มีเลือดออกทางช่องคลอด ควรมาพบแพทย์ก่อนวันนัด
- การดูแลทางจิตใจและสังคมของผู้ป่วย โดยเฉพาะเมื่อมีการสูญเสียอวัยวะสำคัญ เช่น มดลูก รังไข่ อาการวัยทองหลังผ่าตัด ซึ่งอาจต้องปรึกษาแพทย์เพื่อรับฮอร์โมนทดแทน
- เมื่อแรกรับผู้ป่วยจากห้องผ่าตัด ควรประเมินและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก1ชั่วโมง 4ครั้ง ทุก2ชั่วโมง 4ครั้ง และทุก4ชั่วโมง 4ครั้ง จนกว่าสัญญาณชีพจะคงที่ เพื่อตรวจหาความผิดปกติหลังผ่าตัดหลังผ่าตัดโดยเฉพาะการตกเลือดภายในช่องท้อง หากผู้ป่วยมีชีพจรเบาเร็ว หายใจช้า ความดันโลหิตต่ำ ควรให้การช่วยเหลือและรีบรายงานแพทย์ทันที
-
ความเป็นมา
เนื้องอกมดลูก ( myoma uteri ) เป็นโรคที่พบบ่อยที่สุดในทางนรีเวชวิทยา ของสตรีวัยเจริญ
พันธุ์ โดยเฉพาะในช่วงอายุ 40-50 ปี เพราะเป็นช่วงที่เนื้องอกมีการเจริญเติบโตเร็วมาก เนื่องจาก สตรีในช่วงอายุดังกล่าวจะมีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน เฉลี่ยสูงสุด
-
-
-
-
นันทนา ธนาโนวรรณ. (2553). ตำราการพยาบาลนรีเวช(ฉบับองค์รวม). กรุงเทพฯ: บริษัท วี พริ้นท์ติ้ง (1991) จำกัด.
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-