Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างฐานข้อมูล (Data Structure) (การพัฒนาโปรแกรม (Program Development)…
โครงสร้างฐานข้อมูล (Data Structure)
ประกอบด้วย
บิท (Bit)
คือข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุดเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและใช้งานได้ได้แก่ 0 หรือ1
ไบท์(Byte) หรือ อักขระ (Character)
คือ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ จํานวน 1 ตัว
ฟิลด์(Field) หรือ เขตข้อมูล
คือ ไบท์หรือ อักขระตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์เช่น
เลขประจําตัว หรือ ชื่อพนักงาน
เรคคอร์ด (Record) หรือระเบียน
คือ ฟิลด์ตั้งแต่ 1 ฟิลด์ขึ้นไปที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันมา
รวมกัน
ไฟล์(File) หรือ แฟ้มข้อมูล
คือ หลายเรคคอร์ดมารวมกัน เช่น ข้อมูลที่อยู่นักเรียนมารวมกัน
ฐานข้อมูล (Database)
คือ หลายไฟล์ข้อมูลมารวมกัน เช่น ไฟล์ข้อมูลนักเรียนมารวมกัน
ในงานทะเบียน แล้วรวมกับไฟล์การเงิน
รูปแบบการจัดระเบียบข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
เรคคอร์ด
(อาจเรียกเป็น ทูเปิ้ล หรือสตรัค) เรคคอร์ดเป็นโครงสร้างข้อมูลชนิดหนึ่งในกลุ่มโครงสร้างข้อมูลแบบง่าย ค่าข้อมูลของมันเป็นค่าซึ่งสามารถใส่ค่าของเรคคอร์ดอื่น โดยปกติเรคคอร์ด
มีขนาดคงที่และเรียงลําดับ ใช้ชื่อเป็นดัชนีอิลีเมนต์ของเรคคอร์ดมัดเรียกว่าฟิลด์หรือ สมาชิก
แฮช (Hash)
หรือ ดิกชันนารีหรือ แมพ เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ยืดหยุ่นมากกว่าเรคคอร์ด
ซึ่งการเก็บข้อมูล จะเป็นแบบคู่ของ ชื่อ-ค่า และสามารถเพิ่มหรือลบข้อมูลได้อย่างอิสระ
ยูเนียน (Union)
การนิยามยูเนียน จะระบุจํานวนของชนิดข้อมูลดั้งเดิมที่อาจใช้ใส่อินสแตนท์เช่น "float หรือ long integer" ยูเนียนแตกต่างจากเรคคอร์ด คือ เรคคอร์ดสามารถใส่ข้อมูลได้ทั้งชนิด float
และ integer แต่ยูเนียนสามารถใช้ใส่ข้อมูลได้ชนิดเดียว
แท็กยูเนียน (tagged union)
(มักเรียกว่า แวเรียน แวเรียนเรคคอร์ด หรือดิสจอยส์ยูเนียน)
เป็นโครงสร้างที่บรรจุฟิลด์เพิ่มเติมที่ชี้ชนิดข้อมูลป้จจุบันของมัน เพื่อการขยายชนิดข้อมูลอย่างปลอดภัย
เซต (Set)
เป็นโครงสร้างข้อมูลนามธรรมซึ่งสามารถเก็บค่าเฉพาะ โดยไม่ต้องมีลําดับ และไม่มีค่าที่ซ้ํากัน ค่าที่เก็บในเซตไม่สามารถนําออมาได้แต่จะใช้การทดสอบว่าค่าที่ต้องการมีในเซตหรือไม่และคำตอบ ที่ได้เป็นค่าบูลีน ว่ามีหรือไม่มี
วัตถุ(Object)
เป็นโครงสร้างที่บรรจุฟิลด์ข้อมูลได้เช่นเดียวกับเรคคอร์ด และยังมีโค้ดของโปรแกรมสําหรับทํางานกับข้อมูลนั้นด้วย สําหรับโครงสร้างข้อมูลที่ไม่มีโคัด มักเรียกว่า plain old data structure.
ประเภทของโครงสร้างข้อมูล (Type of Data Structure)
โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น(Linear Data Structure)
โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น เป็นโครงสร้างที่เก็บข้อมูลเรียงต่อกันไปเป็นเส้นตรง ได้แก่
โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลําดับ
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง
โครงสร้างข้อมูลแบบกองซ้อน
โครงสร้างข้อมูลแบบแถวคอย
โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น (Non-Linear Data Structure)
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่มีการจัดเก็บข้อมูล นั้นไม่ได้เรียงต่อกันไปเป็นเส้นตรง ทําให้ไม่สามารถนําข้อมูลเข้าและออกจากตําแหน่งใดๆ ก็ได้โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น ได้แก่
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ
การพัฒนาโปรแกรม (Program Development)
1 ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา (Analysis the Problem)
การระบุสิ่งที่ต้องการ (What)
การระบุผลลัพธ์ที่ต้องการ (Output)
การระบุข้อมูลนําเข้า (Input)
การระบุตัวแปรที่ใช้(Variable)
วิธีการประมวลผล (Process)
2 ขั้นตอนการออกแบบโปรแกรม (Design a Program)
ผังงาน (Flowchart)
รหัสเทียม (Pseudo-code)
3 ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม (Coding Program)แบ่งออกเป็น5ยุค ได้แก่
ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง(Machine Language)
ยุคที่ 2 ภาษาแอสเซมบลี(Assembly Language)
ยุคที่ 3 ภาษาระดับสูง(High Level Language)
ยุคที่ 4 ภาษาระดับสูงมาก(Very High Level Language หรือ 4GLs)
ยุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ(Natural Language หรือ 5GLs)
4 ขั้นตอนการตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรม(Testing And Debugging)
จําแนกได้ 3 ประเภท ดังนี
ความผิดพลาดทางวากนสัมพันธ์(Syntax Error)
ความผิดพลาดขณะทํางาน(Run-Time Error)
ความผิดพลาดทางตรรกะ(Logical Error)
5 ขั้นตอนการทดสอบความถูกต้องของโปรแกรม (Testing and Validating)
หลังจากทดสอบแล้วว่าโปรแกรมที่เขียนมาใช้งาน ไม่เกิดข้อผิดพลาดใดๆ จะต้องนําโปรแกรมไป
ทดสอบความถูกต้องอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งขั้นตอนนี้จะเป็นการทดสอบที่ละเอียดมากยิ่งขึ้น
6 ขั้นตอนการทําเอกสารของโปรแกรม (Documentation)
เป็นการอธิบายถึงโปรแกรมที่เขียนขึ้นว่ามีขั้นตอนการทํางานอย่างไรเพื่อเป็นประโยชน์ต่อโปรแกรมเมอร์ในการพัฒนาโปรแกรมเพิ่มเติมในภายหลัง
เอกสารประกอบโปรแกรมสําหรับผู้ใช้(User Documentation)
เอกสารประกอบโปรแกรมสําหรับผู้เขียนโปรแกรม(Program Documentation)
7 ขั้นตอนการบํารุงรักษาโปรแกรม (Program Maintenance)
ขั้นตอนการบํารุงรักษาโปรแกรม จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายสําหรับผู้พัฒนาโปรแกรมเพราะเป็นขั้นตอนที่ได้นําเอาโปรแกรมไปใช้งานเรียบร้อยแล้ว ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องคอยควบคุมตรวจสอบการทํางานของโปรแกรม ระหว่างที่นําไปใช้กับระบบงานจริง ซึ่งถ้ามีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นหรือใช้โปรแกรมไปนานๆแล้วเกิดต้องการจะเปลี่ยนแปลงให้ดูดีขึ้น ผู้เขียนโปรแกรมก็จะต้องปรับปรุงแก้ไขตามความต้องการของผู้ใช้งาน