Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia (อาการและอาการแสดง (อัตราการหายใจเร็วกว่าปกติ (อายุ<2เดือน…
Pneumonia
อาการและอาการแสดง
-
-
-
มีอาการหายใจลําบาก มี chest wall retraction, flaring ala nasi ในขณะหายใจเข้า ถ้าเป็นมากอาจเห็นมีริมฝีปากเขียว
ฟังเสียงปอดมัก จะได้ยินเสียง fine หรือ medium crepitation อาจได้ยินเสียง sonorous rhonchi ร่วมด้วย หรืออาจได้ยินเสียง bronchial breath sound ในกรณีที่ เนื้อปอดมีพยาธิสภาพแบบ consolidation
-
ในเด็กเล็กอาจแสดงอาการอื่นที่ไม่จำเพาะ
ซึ่งเป็นอาการของการติดเชื้อในกระแสโลหิต
ได้แก่ ดูดนมน้อยลง ซึม หรือหยุดหายใจเป็นพัก ๆ
การพยาบาล
- ดูแลให้สารน้ำและสารอาหารให้เพียงพอ โจ๊ก3มื้อ นม6มื้อ แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ กินอาหารไม่ได้ ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 5% DN/3 500ml IV rate 65 cc/hr x24hr ตามแแผนการรักษา
- ดูแลให้ได้รับO2 Cannula 2 LPMตามแผนการรักษา เพื่อให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
- ดูแลพ่นยา Ventolin 1 NB+ NSS up to 4ml NB q 6 hr with suction prn ตามแผนการรักษา
- ดูแลให้ได้รับยา GG syrup 2.5 ml po tid pc ตามแผนการรักษา เพื่อขับเสมหะ ไม่ให้เสมหะคั่งค้างในหลอดลม ติดตามอาการข้างเคียงของยา
5.เคาะปอดให้กับเด็กที่มีเสมหะคั่งค้างในหลอดลม เพื่อช่วยให้เสมหะถูกขับออกจากปอดและหลอดลมได้ดีขึ้น ในผู้ป่วยที่อาการหนักอาจให้เพียงการสั่นสะเทือนบริเวณทรวงอก (vibration) และช่วยดูดเสมหะก็จะช่วยระบายเสมหะที่คั่งค้างในหลอดลมออกมาได้
-
-
พยาธิสภาพ
-
-
จะมีกลไกการป้องกันตามปกติของร่างกาย การโบกปัดของซิเลียและการไอเพื่อขจัดเชื้อในเสมหะหรือเมือกออกไป ขณะเดียวกันแมกโครฟาจจะทำลายเชื้อโรคที่อยู่ในถุงลมและซิเลียจะโบกปัดขับออกโดยการไอเพื่อขับเชื้อออกทางเสมหะหรือกลืนลงสู่กระเพาะอาหาร
แต่ถ้าร่างกายไม่มีกลไกดังกล่าวปอดจะมีการอักเสบโดยมีการสร้างน้ำและเมือกเพิ่มขึ้นบริเวณถุงลมและไหลเข้าสู่หลอดลมฝอยทำให้เนื้อที่ในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ลดลง
ยังมีการขจัดเชื้อโรคออกไปยังต่อมน้ำเหลืองและกระแสเลือดเพื่อขจัดออกจากร่างกาย ซึ่งจะมีเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดงมารวมตัวบริเวณที่มีการอักเสบมากขึ้น
-
ทำให้ผู้ป่วยมีไข้ ไอ อาจมีเสมหะร่วมด้วยซึ่งขึ้นอยู่กับสาเหตุของปอดอักเสบ หากปอดอักเสบรุนแรงอาจถึงแก่ชีวิต
การวินิจฉัยโรค
-
-
การตรวจหาเชื้อก่อเหตุทำได้หลายวิธี เช่น การตรวจเสมหะ การเพาะเชื้อ การตรวจน้ำเหลือง และการตรวจแอนติเจน
ตรวจแอนติเจนของไวรัสบางชนิด เช่น RSV และ INFLUENZA ซึ่งจะมีประโยชน์ในการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส
-
-
-
ความหมาย
RSV คือไวรัสชนิดมีเปลือกหุ้ม ( Respiratory Syncytial Virus ) มีสองสายพันธุ์ คือ RSV-A และ RSV-B เป็นไวรัสก่อการติดเชื้อทางเดินหายใจของเด็กทั่วโลก โดยเฉพาะเด็กอายุต่ำกว่ำ 3 ปี
และมีการระบาดเกือบทุกปี
การติดเชื้อไวรัส อาร์เอส วี เป็นปัญหาสำคัญในวัยทารกและเด็กเล็ก มักทำให้เกิดภาวะปอดอักเสบ เนื่องจากเชื้อไวรัส อาร์เอส วี มักทำให้เกิดพยาธิสภาพของส่วนหลอดลมเล็ก (Bronchiole)และถุงลม(Alveoli) ทำให้เกิดโรคAcute bronchiolitis ทำให้มีการสร้างสิ่งคัดหลั่ง เช่น เสมหะออกมาในปริมาณมาก และมีการหดตัวของหลอดลมเนื่องการการบวมของเยื่อบุหลอดลมและทางเดินหายใจส่วนต่างๆ จึงทำให้เด็กมีอาการหอบ เหนื่อยและหายใจลำบากได้อย่างรวดเร็ว ในรายที่เป็นรุนแรง เช่น ในเด็กทารกที่คลอดก่อนกำหนด หรือเด็กที่มีโรคหัวใจ โรคปอดและ หอบหืดอยู่แล้ว อาจมีการหายใจล้มเหลวจนต้องนำเข้า หอพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต(ไอซียู) และอาจต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
การรักษา
ในรายที่เป็นปอดบวมจากเชื้อไวรัส ไม่มียารักษาที่จำเพาะ การให้supportive care รวมทั้งการบำบัดรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้ผู้ป่วยหายจากโรค โดยไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ในกรณีที่สงสัยว่ามีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้ออื่นๆและยังไม่สามารถแยกเชื้อได้ชัดเจน พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
-