Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) (รูปแบบการจัดระเบียบข้อมูลในรูปแบบต่างๆ…
โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ประกอบด้วย
3.เขตข้อมูล (Field)
เป็นโครงสร้างของกลุ่มตัวอักษรที่มีความสัมพันธ์กันและแทนความหมายเช่น การรวมตัวกันของเลข '4856972136' แทนรหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล ตัวเลข สัญชาติ วันเกิด ที่อยู่ของนักศึกษา
แบ่งออกเป็น 3.ประเภท
เขตข้อมูลแบบตัวเลข (Numberic Field)นเขตข้อมูล ที่เกิดจากการประกอบกันของตัวเลข ซึ่งสามารถใช้ในการคำนวณได้ เช่น คะแนนการสอบกลางภาค
เขตข้อมูลแบบตัวอักษร (Alphabetic Field) เป็นเขตข้อมูลที่เกิดจากการประกอบกันของตัวอักษร หรือ ช่องว่าง (Blank) เพื่อใช้สื่อแทน
ความหมาย เช่น ชื่อ นามสกุลของนักศึกษา
3.เขตข้อมูลแบบอักขระ เป็นเขตข้อมูลที่เกิดจากการประกอบกันทั้งตัวเลขและตัวอักษร เช่น ที่อยู่ของนักศึกษา
6.ฐานข้อมูล (Database)
เกิดจากการรวมกันของแฟ้มข้อมูลหลายๆแฟ้มข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เพื่อใช้ในการบริหารการจัดเก็บกลุ่มของข้อมูลที่มีจำนวนมากๆ และอำนวยความสะดวกในการเรียกค้นและการเรียกใช้งานของผู้ใช้งาน เช่น ระบบฐานข้อมูลของระบบงานทะเบียนของสถานศึกษา ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลของนักศึกษา แฟ้มข้อมูลของอาจารย์ แฟ้มข้อมูลรายวิชา แฟ้มข้อมูลการลงทะเบียนเรียน
.4.ระเบียน (Record)
เกิดจากกลุ่มของนักศึกษากลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ภายในหนึ่งระเบียนนั้นเกิดจากการรวมกันของเขตข้อมูลต่างประเภทกัน เช่น ระเบียนของนักศึกษา ประกอบด้วย เขตข้อมูลหมายเลขประจำตัวนักศึกษา,ชื่อ,นามสกุล,ที่อยู่
1.บิต (Bit)
ค่าที่เล็กที่สุด เป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจและใช้งานได้ได้แก่ 0 หรือ1 และนำมารวมกันเป็นโครงสร้างข้อมูล โดยการนำบิตมาต่อกันเป็น โครงาร้างข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นเรียกว่าบิต Bit
5.ไฟล์ (File)
เกิดจากการรวมตัวกันของกลุ่มระเบียนที่มีความหมายเดียวกัน เช่น แฟ้มข้อมูลของนักศึกษา ที่เก็บข้อมูล รหัสประจำตัว ชื่อ นามสกุล วันเกิด ที่อยู่ของนักศึกษา แฟ้มข้อมูลของรายวิชา ที่เก็บข้อมูลรหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต หรือแฟ้มข้อมูลของอาจารย์ ที่จัดเก็บข้อมูลของอาจารย์
2.ไบท์ (Byte)
โครงสร้างที่เกิดจากการรวมตัวของบิต (Bit) รวมกันเพื่อเป็นตัวแทนอักขระ ที่ต้องการใช้งานเนื่องจากคอมพิวเตอร์เข้าใจได้แค่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น
รูปแบบการจัดระเบียบข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
แถวลำดับ (Array)
ใช้เก็บอิลีเมนต์ที่มีชนิดข้อมูลชนิดเดียวกันจํานวนหนึ่ง
มีลําดับเฉพาะ
อิลีเมนต์ของอาร์เรย์เข้าถึงโดยใช้เลขจํานวนเต็มระบุตําแหน่งของอิลีเมนต์ที่ต้องการ
อาร์เรย์อาจมี ขนาดจํากัด หรืออาจขยายขนาดได้
แฮช (Hash)
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ยืดหยุ่นมากกว่าเรคคอร์ด
การเก็บข้อมูล จะเป็นแบบคู่ของ ชื่อ-ค่า
สามารถเพิ่มหรือลบข้อมูลได้อย่างอิสระ
ยูเนียน (Union)
การนิยามยูเนียน จะระบุจํานวนของชนิดข้อมูลดั้งเดิมที่อาจใช้ใส่อินสแตนท์เช่น"Float หรือ Long Integer
แท็กยูเนียน (Tagged Union)
เป็นโครงสร้างที่บรรจุฟิลด์เพิ่มเติมที่ชี้ชนิดข้อมูลป้จจุบันของมัน เพื่อการขยายชนิดข้อมูลอย่างปลอดภัย
เรคคอร์ด (Record)
เป็นโครงสร้างข้อมูลชนิดหนึ่งในกลุ่มโครงสร้างข้อมูลแบบง่าย
ค่าข้อมูลของมันเป็นค่าซึ่งสามารถใส่ค่าของเรคคอร์ดอื่น
มีขนาดคงที่
เซต (Set)
โครงสร้างข้อมูลนามธรรมซึ่งสามารถเก็บค่าเฉพาะโดยที่
ไม่ต้องมีลําดับ
ไม่มีค่าที่ซ้ํากัน
ค่าที่เก็บในเซต
ไม่สามารถนําออมาได้แต่จะใช้การทดสอบว่าค่าที่ต้องการมีในเซตหรือไม่และคำตอบ ที่ได้เป็นค่าบูลีน ว่ามีหรือไม่มี
วัตถุ (Object)
เป็นโครงสร้างที่บรรจุฟิลด์ข้อมูลได้เช่นเดียวกับเรคคอร์ด
มีโค้ดของโปรแกรมสําหรับทํางานกับข้อมูลนั้นด้วย
สําหรับโครงสร้างข้อมูลที่ไม่มีโคัด มักเรียกว่า Plain old data structure.
ประเภทของโครงสร้างข้อมูล (Type of Data Structure)
โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น(Linear Data Structure)
โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น เป็นโครงสร้างที่เก็บข้อมูลเรียงต่อกันไปเป็นเส้นตรง ได้แก่
โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลําดับ
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง
โครงสร้างข้อมูลแบบกองซ้อน
โครงสร้างข้อมูลแบบแถวคอย
โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น (Non-Linear Data Structure)
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่มีการจัดเก็บข้อมูล นั้นไม่ได้เรียงต่อกันไปเป็นเส้นตรง ทําให้ไม่สามารถนําข้อมูลเข้าและออกจากตําแหน่งใดๆ ก็ได้โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น ได้แก่
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบกราฟ