Bed 1 - 5 alteration of conscious w/ UTI 🏁
General Apperance
โรคประจำตัว
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 81 ปี รูปร่างอวบตัวเล็ก รู้สึกตัวดี หายใจ on ventrilator ps mode Fio2 0.4 Peep 5 TV 500 ไม่มีอาการหอบเหนื่อย มีเสมหะสีขาวขุ่นข้น ขับออกเองไม่ได้ ได้รับอาหาร BD DM low salt (2:1) 250ml x 4 feed รับได้ on Rt double lumen catheter ฟอกไตทุกวัน จันทร์ ,พฤหัส ที่อกฝั่งขวาเคยเปิด permcath เดิม แผลแห้งดีตัดไหมเรียบร้อย แขนซ้ายมีรอยสะเก็ดแผล 2 จุดแผล1 จุด แผลแดงดีไม่มีdischarge ซึม เปิดเส้นให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำที่มือขวา และแผลที่ก้นstage 1 1x1 cm มีแผลเล็กๆประปราย แผลแดงดี มีZinc paste ทาแผล ที่ขาทั้ง2ข้างผิวคล้ำ แห้ง ไม่มีแผล
Medication
Hydralazine (25mg) 2x2 oral PC ✅
ยากลุ่มต้านความดันโลหิตสูง (antihypertensive)
ช่วยขยายหลอดเลือดฝอย ลดความดันโลหิตและแรงต้านของหลอดเลือดได้
ผลข้างเคียง เจ็บหน้าอก อาการบวม ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว ท้องเสีย ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ agranulocytosis เม็ดเลือดขาวสูง พิษต่อตับ SLE
isosorbide dinitrate (10mg) 1x2 oral AC ✅
ยาในกลุ่ม Nitrates ออกฤทธิ์ขยายหลอดเลือดหัวใจ
กล้ามเนื้อเรียบคลายตัวทำให้หลอดเลือดหัวใจขยายตัว
ใช้ร่วมกับยา hydralazine ในการรักษาโรคหัวใจล้มเหลว
ผลข้างเคียง ปวดศีรษะรุนแรง มึนงง ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เป็นลม หัวใจเต้นแรง เต้นเร็ว หรือเต้นช้าเกินไป เจ็บหน้าอกมากขึ้น ปากแห้ง คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออก
Folic acid (5mg)1x1 oral PC ✅
คือวิตามินบี9 (Vitamin B9) ชนิดละลายน้ำ รักษาภาวะขาดโฟเลตในเลือด (folate deficiency) โลหิตจาง (anemia)
ผลข้างเคียง ปวดท้อง ท้องร่วง ผื่นขึ้น ปัญหาการนอนหลับ ฉุนเฉียว สับสน คลื่นไส้ พฤติกรรมเปลี่ยน เกิดปฏิกิริยาบนผิวหนัง ชัก เกิดลมในร่างกาย
B CO-ED 1x2 oral PC ✅
วิตามิน บี รวม ป้องกันการขาดวิตามินบี
ผลข้างเคียง ระคายเคืองกระเพาะอาหาร อาการปวดท้อง ท้องเสีย รู้สึกวูบวาบ วิงเวียนศีรษะ
Tramadol (50mg) 1 x q 12 hr prn ✅
ยากลุ่ม บรรเทาอาการปวด analgesics / opioid
ยับยั้งการดูดกลับ norepinephrine และเพิ่มการปลดปล่อยserotonin ลดการตอบสนองต่อการรับรู้การปวด
ผลข้างเคียง กดระบบหายใจ อาการชัก มึนงง ปวดศีรษะ ง่วงซึมในช่วงกลางวัน อ่อนเพลีย อาการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ วิตกกังวล เคลิ้มสุข เห็นภาพหลอน อาการเหงื่ออกมาก สับสน ซึมเศร้า ท้องผูก คลื่นไส้อาเจียน ผื่นแดง
madiplots (20mg) 1x1 oral PC ✅
ยากลุ่ม Calcium Channel Blocker รักษาความดันโลหิตสูง ช่วยขยายหลอดเลือดแดงกว้างขึ้นๆ ลดการบีบตัวของหัวใจช้าลงๆ ผลโดยรวมก้อทำให้ความดันโลหิตลดลง
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำ หน้าแดง ใบหน้าร้อนผ่าว ปวดท้องหรือไม่สบายท้อง มีลมในกระเพาะอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ มึนงง ผื่นคัน ผื่นลมพิษ บวมตามอวัยวะต่างๆ หายใจลำบาก หน้ามืด เป็นลม เจ็บหน้าอกมากขึ้นหรือบ่อยขึ้น หัวใจเต้นผิดจังหวะ
bissoprolol (2.5mg) 1x2 ora; PC
Hold if bp 90/60 mmHg ✅
ยากลุ่ม Beta blocker รักษาความดันโลหิตสูง และควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ
ผลข้างเคียง ความดันโลหิตต่ำ bradycardia อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ นอนไม่หลับ มึนงง ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน หรือมีอาการคล้ายหวัด ลมพิษ หายใจลำบาก หน้าบวม ภาวะหลอดลมหดเกร็ง หายใจไม่อิ่ม หายใจลำบาก หัวใจเต้นผิดปกติ ใจสั่น น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว มีอาการบวม
Atovastatin(40mg)1/2x1 oral Hs ✅
ยากลุ่มStatins หรือ HMG CoA Reductase Inhibitors
ช่วยลดระดับไขมันในเลือด
ผลข้างเคียง ปวดศีรษะ ท้องอืด ท้องผูกอาหารไม่ย่อย คลื่นไส้ ท้องเสีย เบื่ออาหาร ปวดแขนขา ปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อกระตุก ปวดข้อ เยื่อจมูกและลำคออักเสบ นอนไม่หลับ ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
paracetamol (500mg) 1 tab q 4-6 hr prn ✅
ยากลุ่มบรรเทาอาการปวด และยาต้านไข้ analgesics and antipyretics ยับยั้งการสังเคราะห์ prostaglandins
ยับยั้งการกระตุ้นการปวด
ผลข้างเคียง ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ ภาวะ agranulocytosisอาการปวด รู้สึกแสบร้อนบริเวณที่ฉีดยา การแพ้ยารุนแรง พิษต่อตับ
calciferol 2 tab/week
ทุกวันพุธ ✅
vitamin D รักษาผู้ที่มีภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ โรคกระดูกพรุน
sodamint (300mg) 3x4 oral PC , Hs ✅
ผลข้างเคียง แพ้ยา เช่น เป็นผื่นลมพิษ คัน ไอ หน้าบวม คอบวม ปากบวม ลิ้นบวม หายใจไม่อิ่ม หายใจ หากได้มากไป มีอาการ กระหายน้ำมาก ปัสสาวะมาก เหนื่อยล้าผิดปกติ เวียนหัว อาเจียน ไม่อยากอาหาร ท้องผูก
sodium bicarboante ยาลดกรดเพื่อบรรเทาอาการกรดเกินในกระเพาะอาหารและอาการแสบร้อนกลางอก
mysoven (200mg) 2x3 oral PC ✅
ผลข้างเคียง ภาวะเลือดเป็นด่าง อารมณ์เปลี่ยนแปลง เหนื่อยล้า หายใจสั้น กล้ามเนื้ออ่อนแรง การเต้นของหัวใจผิดปกติ เกิดตะคริว กล้ามเนื้อกระตุก ภาวะระดับโซเดียมในเลือดสูง
ยาละลายเสมหะ ลดความเหนียวข้น
ผลข้างเคียง หลอดลมหดเกร็ง อาการบวม เกิดผื่น ความดันโลหิตต่ำ ความดันโลหิตสูง ผิวหนังแดง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ อาการวูบ เหงื่อออก ปวดข้อ มองเห็นภาพไม่ชัด รบกวนการทำงานของตับ เลือดเป็นกรด อาการชัก หัวใจหยุดเต้น
losec (20mg) 1x1 oral AC ✅
ยากลุ่ม ยับยั้งการหลั่งกรด gastric acid secretion inhibitor ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
ผลข้างเคียง ท้องเสียจากการติดเชื้อ clostridium difficile (CDAD) กระดูกหักที่มีสาเหตุจากกระดูกพรุน ปวดศีรษะ ผื่นแดง มึนงง อ่อนเพลีย อาการไอ ปวดหลังหรือปวดท้อง
Lorazepam (0.5mg) 1 tab prn
หากนอนไม่หลับ ✅
ยากลุ่ม benzodiazepines ออกฤทธิ์กดระบบประสาทส่วนกลาง ลดอาการวิตกกังวล ทำให้ง่วงหลับ ต้านอาการชัก คลายกล้ามเนื้อ
ผลข้างเคียง ลมพิษ หายใจลำบาก มีอาการบวมบริเวณใบหน้า ริมฝีปาก ลิ้น หรือลำคอ อาการง่วงซึม อาการมึนศีรษะ อาการอ่อนเพลีย อารมณ์ไม่คงที่
NPH insulin [neutral protamine hagedorn insulin]
8 unit sc AC ✅
อินซูลินออกฤทธิ์ยาวขึ้น เริ่มออกฤทธิ์ 1-4 ชม.หลังฉีด ออกฤทธิ์สูงสุด 4-10 ชม. และยาอยู่ได้นาน 12-20 ชม. ทำให้น้ำตาลในเลือดไม่สูงเกินไป
ผลข้างเคียง รู้สึกวิตกกังวล มึนงง ซึมเศร้า ตาพร่ามัว เหงื่อออก ตัวเย็น เกิดอาการชักกะตุก ผิวหนังซีด ปากแห้ง ไอ กลืนลำบาก ปัสสาวะน้อยลง หัวใจเต้นเร็ว หรือเต้นผิดปกติ ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้ หิว หรือกระหายน้ำบ่อยขึ้น ความอยากอาหารลดลง มีอาการเหน็บชาที่มือ เท้า หรือริมฝีปาก กล้ามเนื้อเกร็ง แน่นหน้าอก
meropenam (500mg) + nss 50 ml vein drip OD ✅
กลุ่มยา antibiotic ยับยั้งการสังคราะห์ผนังเซลล์ แบคทีเรียกลุ่มแกรมบวก และแกรมลบ
ผลข้างเคียง ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อาจเกิดการปวดบริเวณที่ฉีด อาการแสบเส้น เกิดพิษเนื้อตายบริเวณผิวหนัง ปวดศีรษะ ภาวะโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตก ผื่นแดง ติดเชื้อ ช็อก อาการชัก ผลข้างเคียงที่รุนแรง ได้แก่ การแพ้ยา อาการท้องเสียที่ติดเชื้อClostridium difficile (CDAD)
เบาหวาน DM 20 ปี
ความดันโลหิตสูง HT 20 ปี
มะเร็งลำไส้ใหญ่ CA colon 1 ปี
ESRD เคยล้างไตที่ รพ บางนา1 วันจันทร์ พุธ เสาร์
โรคไต 4 ปี
โรงพยาบาลใกล้บ้าน
รพบางนา 1
อาการสำคัญมาโรงพยาบาล
เหนื่อย ซึม 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
อาการปัจจุบัน
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการซึมลง ตอบสนองได้น้อยลง ทานอาหารน้อยลง ไอ มีเสมหะเล็กน้อย ปัสสาวะได้น้อยลง
1 วันก่อนมารพ ไปทำhemodialysis หลังทำเสร็จมีอาการซึมลง ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล
อาการแรกรับ
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี E4 M6 V T ช่วยเหลือดตัวเองไม่ได้ on ETtube NO 7.5เบอร์20 on NG tube ไม่มีอาการหายใจหอบเหนื่อย
พยาธิสภาพ
ความหมาย
UTI Urinary Tract Infection การอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะซึ่งมีสาเหตุจากการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยพบตั้งแต่ท่อปัสสาวะไปจนถึงไต
สาเหตุ
ทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
กระเพาะปัสสาวะ (bladder) เรียกว่า “Cystitis”
ท่อปัสสาวะ (urethra) เรียกว่า “Urethritis”
การติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบน
ไต (kidney) และกรวยไต เรียกว่า “Pyelonephritis”
เกิดขึ้นเมื่อแบคทีเรียเข้าไปในทางเดินปัสสาวะโดยผ่านทางท่อปัสสาวะ ส่วนใหญ่โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ มักเกิดจาก เชื้อ E. coli (อี. โคไล) และแบคทีเรียอื่น ๆ ที่พบได้ปกติในบริเวณทางเดินอาหาร
ปัจจัยเสี่ยง
มีท่อปัสสาวะที่ค่อนข้างสั้น
ในหญิงที่มีการเช็ดทำความสะอาดที่ไม่เหมาะสม เช่น การเช็ดจากหลังไปหน้า นำพาให้เชื้อแบคทีเรียจากรูทวารมายังท่อปัสสาวะได้
ปัสสาวะน้อย จากการที่ดื่มน้ำปริมาณน้อยเกินไป
ได้รับการผ่าตัด หรือมีหัตถการบริเวณที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินปัสสาวะในช่วงที่ผ่านมา
เป็นโรคเบาหวาน หรือโรคอื่นที่ทำให้ภูมิคุ้มกันในร่างกายลดลง
การกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน
อาการ
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะกะปริบกะปรอย
ปัสสาวะแสบขัด
ปัสสาวะเป็นเลือด
ปัสสาวะเป็นหนอง
ปวดท้องน้อย
เจ็บชายโครง ปวดบั้นเอว
หนาวสั่น เป็นไข้ ซึมลง
การรักษา
รักษาด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะ โดยอาจจะเป็นรูปแบบของยาเม็ดที่ต้องรับประทานอย่างต่อเนื่อง ในช่วงระยะเวลา 3-7 วันผล การรักษาของยาปฏิชีวนะแบบเม็ดที่อ้างอิงจากการศึกษาพบว่าสามารถรักษาโรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะได้ผลดีถึง 85 %
ผู้ป่วยได้รับยา meropenam (500mg)
- nss 50 ml vein drip OD
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ(Laboratory findings) วิเคราะห์ค่าปัสสาวะ จาก ไนไตรทในปัสสาวะ เม็ดเลือดขาว (leukocytes) และค่าอื่นๆ
Classification
การติดเชื้อครั้งแรก (First or isolated infection)
เป็นการติดเชื้อหลังจากการติดเชื้อครั้งก่อนอย่างน้อย 6 เดือน
การไม่หายจากการมีแบคทีเรียในปัสสาวะระหว่างการรักษา (Unresolved bacteriuria)
การรักษาเริ่มแรกไม่พอเพียง ยังคงพบการเติบโตของ แบคทีเรียระหว่างการรักษา เกิดจากมีแบคทีเรียในปัสสาวะคือการดื้อต่อยาปฏิชีวนะที่เลือกในการรักษา
การติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะใหม่แบบเป็นๆหายๆ (Recurrent urinary tract infection)
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
⚠ = ค่าต่ำ
❗ = ค่าสูง
เคมีคลินิก
โลหิตวิทยา
coagulation test
14/10/62
PT 15.5 ❗
INR 1.37 ❗
APTT 33.5 ❗
พบค่าทุกอย่างสูงกว่าปกติ
CBC 14/10/62
Hb ⚠ 7.6 g/dL
Hct ⚠ 22.8 %
RBC ⚠ 2.69 x 10^6/uL
MCV 84.8 fL
MCHC 33.4 g/dL
RDW 15.8 %
WBC ❗ 20,320/uL
Neutrophil ❗80.6 %
lymphocyte ⚠ 9.7 %
platelet count 161,000/uL
MPV 10.4 fL
ผู้ป่วยมีภาวะซีด
มีภาวะติดเชื้อในร่างกาย
special test 13/10/62
reticulocyte count ❗ 2.99%
Na ⚠ 129 mmol/L
K 4.58 mmol/L
cl ⚠ 91.5 mmol/L
CO2 ⚠ 17.0 mmol/L
BUN ❗ 79.7 mg/dL
eGFR ⚠ 5.9 mL/min
Creatinine ❗ 6.14 mg/dL
ผู้ป่วยมีภาวะ hyponatremia
ภาวะเลือดเป็นกรดKetoacidosis
ไตเสียหน้าที่
ภูมิคุ้มกันวิทยา
Procalcitonin 2.1 ng/ml
7/10/62
จุลชีววิทยา 15/10/62
Ferritin ❗ 566.18 ng/mL
2/09/62
มีภาวะโลหิตจางชนิดสร้างฮีโมโกลบินไม่ได้แต่ไม่ได้ขาดธาตุเหล็ก
specimen sputum
moderate klebsiella pneumoniae CRE 🚩
แบคทีเรียที่ปกติจะอาศัยในลำไส้มนุษย์ และไม่ก่อให้เกิดโรค แต่หากเชื้อนี้แพร่ไปอยู่ในตำแหน่งอื่นๆในร่างกาย ก็จะสามารถทำให้เกิดโรคต่างๆขึ้นได้
อาการคล้ายไข้หวัด ไข้หนาวสั่น ไอ มีปัญหาในการหายใจ โดยอาจมีเสมหะสีเหลือง เขียว หรือปนเลือดออกมาด้วย
จุลทรรศนศาสตร์คลินิก
chemical exam
29/09/62
UAspecific gravity 1.015
blood 3+ ❗
ketone neg
glucose neg
albumin ❗ 2+
pH 7.0
bile neg
urobilinogen ❗ 3+
nitrite neg
ผู้ป่วยมีภาวะโรคเบาหวาน
มีภาวะของเสียคั่งในร่างกาย
มีภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
microscopic exam UA
RBC ❗ 20-30 /HPF
WBC ❗ >100/HPF
epithelial 0-1 /HPF
mucous not found
bacteria ❗ numurous
มีภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
radiology report
พบนิ่วขนาด 9 มมที่ท่อไตซ้าย
มีการตีบในช่วงกลางถึงปลายของท่อไตซ้าย
การทำไพอีโลแกรมด้วยการฉีดสารทึบรังสีเข้าหลอดเลือด (Intravenous pyelograpgy)
การถ่ายภาพรังสีส่วนตัดอาศัยคอมพิวเตอร์ (Computed tomography: CT)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
problem list
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากประสิทธิภาพการและเปลี่ยนแก๊สลดลง
ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
มีภาวะของเสียคั่งเนื่องจากการทำงานของไตเสียหน้าที่
ผู้ป่วยมีภาวะ hyperglycemia
ผู้ป่วยมีภาวะซีด
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเนื่องจากอยากกลับบ้าน
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากประสิทธิภาพการและเปลี่ยนแก๊สลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วย on ventrilator ps mode Fio2 0.4 Peep 5 TV 500
อัตราการหายใจเฉลี่ย 20 ครั้ง/นาที
ผู้ป่วยมีเสมหะสีขาวข้น ไม่สามารถขับออกเองได้
ผู้ป่วยเคยได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจหลายครั้ง แต่กลับมาใช้เครื่องจากมีอาการหายใจเหนื่อย O2 sat ต่ำกว่า 95%
เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ผูป่วยไม่มีภาวะขาดออกซิเจน หายใจเหนื่อย หายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเย็น ปากซีด คล้ำเขียว
อัตราการหายใจอยู่ในช่วง 16-24 ครั้ง/นาที
O2 sat 95-100%
ผู้ป่วยไม่มีเสมหะ ทางเดินหายใจโล่ง
ผู้ป่วยสามารถการใช้เครื่องช่วยหายใจจนหายใจได้ด้วยตนเอง room air
กิจกรรมพยาบาล
ประเมิินภาะวะพร่องออกซิิเจน อาการ ลักษณะการหายใจ ปาก ปลายมือปลายเท้า เพื่อเฝ้าระวังอาการผู้ป่วย
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 45-60 องศา เพื่อเปิดทางเดิินหายใจให้โล่ง
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้มีความปลอดโปร่ง และสะอาดอยู่เสมอเพื่อให้
ผู้ป่วยสามารถหายใจได้อย่างเต็มที่
ดูแลให้พักผ่อนบนเตียง เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ประเมิินสัญญาณชีพทุก 4 ชม. โดยเฉพาะ อัตราการหายใจ และค่า O2 saturation
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง เคาะปอด และ suction อยู่เสมอก่อนรับประทานอาหาร
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจเข้า - ออกอย่างช้าๆ ลึกๆ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ให้ผู้ป่วยออกกำลังกายโดยการขยับมือกำมือ ยกแขนขาขึ้น ลง ทำpassive exercises ป้องกันปอดแฟบจากการนอนพักที่เตียงเป็นเวลานาน
ดูแลให้ได้รับยาsodamint (300mg) 3x4 oral PC , Hs
ระวังเรื่อง หลอดลมหดเกร็ง อาการบวม เกิดผื่น ความดันโลหิตต่ำ ความดันโลหิตสูง ผิวหนังแดง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ อาการวูบ เหงื่อออก ปวดข้อ มองเห็นภาพไม่ชัด รบกวนการทำงานของตับ เลือดเป็นกรด อาการชัก หัวใจหยุดเต้น
ผู้ป่วยมีภาวะติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการพยาบาล
ผู้ป่วยมีอาการของภาวะติดเชื้อในร่างกาย ซึมลง อ่อนเพลีย
อุณหภูมิร่างกาย 37.9 ํc
ผู้ป่วยมีภาวะhyperglycemia
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีประวัติเป็นโรคเบาหวาน
ผลจากเจาะน้ำตาลพบว่าในแต่ละช่วงเวลามีค่าที่สูงกว่าเกณฑ์
และได้ให้ฉีด humulin R ตามแผนการรักษา
วัตถุประสงค์
เพื่อไม่ให้เกิดภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง
เกณฑ์การประเมิน
ผู้ป่วยไม่มีอาการของภาวะน้ำตาลสูง ปัสสาวะบ่อย โดยเฉพาะเวลากลางคืน กระหายน้ำมาก รู้สึกเหนื่อยและอ่อนเพลีย มองเห็นไม่ชัดเจน รู้สึกหิว น้ำหนักลด อาการซึมจนกระทั่งหมดสติ อาการชัก
ระดับน้ำตาลในเลือดเกณฑ์ปกติผู้ป่วยโรคเบาหวานระหว่าง 90 – 140 mg/dl
หากค่าDTX 200-250 ฉีดHumulin R 4 unit
ค่าDTX 251-300 ฉีดHumulin R 6 unit
ค่าDTX 301-350 ฉีดHumulin R 8 unit
ค่าDTX 351-400 ฉีดHumulin R 10 unit
ค่าDTX สูงกว่า 400 ให้รายงานแพทย์
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินภาวะความเข้มข้นของระดับน้ำตาลในเลือดสูงเช่น กระหายน้ำ ปัสสาวะมาก ซึมลง เกร็ง ตะคริว เพื่อติดตามอาการผู้ป่วย
ติดตามผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดทุกวัน
ดูแลให้ยาhumulin R ตามแผนการรักษา หากมีค่าน้ำตาลสูงกว่าเกณฑ์ปกติ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงโดยเฉพาะค่าอัตราการเต้นของหัวใจ เพื่อเฝ้าระวังอาการของผู้ป่วย
ระดับน้ำตาลในเลือด
หากค่าDTX 200-250 ฉีดHumulin R 4 unit
ค่าDTX 251-300 ฉีดHumulin R 6 unit ค่าDTX 301-350 ฉีดHumulin R 8 unit ค่าDTX 351-400 ฉีดHumulin R 10 unit ค่าDTX สูงกว่า 400 ให้รายงานแพทย์
13/10/62
6.00น. 167mg%
15.00 308 mg%
14/10/62
6.00 167mg%
15.00 229mg%
15/10/62
6.00 212mg%
humulin R 8 unit SC
humulin R 4 unit SC
humulin R 4 unit SC
12/10/62
6.00 132mg%
15.00 255 mg%
humulin R 6 unit SC
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหาร feed DM BD 2:1 250ml x 4 feed ตามแผนการรักษา พร้อมทั้งดูอาหารที่คั่งค้างในกระเพาะ
ผลการตรวจurine geram stain พบเชื้อ klebsiella pneumoniae
RBC ❗ 20-30 /HPF
WBC ❗ >100/HPF
blood ❗ 3+
albumin ❗ 2+
urobilinogen ❗ 3+
เพื่อไม่ให้เกิดภาวะติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
สัญญาณชีพเป็นปกติ BT=36.5-37.4 ‘C
RR=16-24 bpm
HR=6-100bpm
BP=140/90 mmHg
O2 sat>95%
ประเมินอาการการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เช่น มีไข้ หนาวสั่น ซึมลง อ่อนเพลีย เพื่อเฝ้าระวังอาการของผู้ป่วย
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมงโดยเฉพาะค่าอุณหภูมิร่างกาย เพื่อติดตามอาการของผู้ป่วย
ทำหัตถการต่างๆด้วยเทคนิคปลอดเชื้อ เพื่อไม่เป็นการเพิ่มการติดเชื้อในผู้ป่วย ลดการแพร่ระบาดเชื้อ ได้แก่ ล้างมือ ใส่ถุงมือทุกครั้งที่สัมผัสผู้ป่วย
บันทึกสารน้ำ เข้า - ออก ทุก 8 ชม.
สังเกตลักษณะ สี ของปัสสาวะหากมีออกมา
ดูแลให้ได้รับยา meropenam (500mg) + nss 50 ml vein drip OD
ระวัง อาการท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก อาจเกิดการปวดบริเวณที่ฉีด อาการแสบเส้น เกิดพิษเนื้อตายบริเวณผิวหนัง ปวดศีรษะ ภาวะโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตก ผื่นแดง ติดเชื้อ ช็อก อาการชัก ผลข้างเคียงที่รุนแรง ได้แก่ การแพ้ยา อาการท้องเสียที่ติดเชื้อClostridium difficile (CDAD)
ติดตามผลการตรวจปัสสาวะ Urine Culture ,Urine Gram stain, CBCอย่างสม่ำเสมอ
ล้างทำความสะอาดอวัยวสืบพันธ์ ให้สะอาดเมื่อผู้ป่วยขับถ่ายทุกครั้ง ซับให้แห้ง ป้องกันเป็นแหล่างสะสมของเชื้อโรค
ไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น ไข้สูง หนาวสั่น ซึมลง อ่อนเพลีย
ผลการตรวจ CBC ปกติ
ผล Urine Gram stain ไม่พบเชื้อ
ปัสสาวะหากมี สีเหลืองไม่มีตะกอนหรือเลือดปน
มีภาวะของเสียคั่งเนื่องจากการทำงานของไตเสียหน้าที่
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการพยาบาล
albumin ❗ 2+
urobilinogen ❗ 3+
ไม่มีอาการของภาวะของเสียคั่ง เช่นมีอาการเท้าบวมขาบวม อ่อนเพลียมากขึ้น
มีอาการเบื่ออาหาร มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ระดับความรู้สึกตัวลดลง ชัก หมดสติ
ผลตรวจเคมีคลินิก Bun,cr ,eGFR,Albumin อยู่ในเกณฑ์ที่แพทย์รับได้
ไม่มีภาวะบวม pitting edema grade 0
เพื่อลดภาวะของเสียคั่งในร่างกาย
สังเกตและบันทึกอาการแสดงของภาวะของเสียคั่ง เช่น ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง สับสน คลื่นไส้ อาเจียนเพื่อเฝ้าระวังอาการของผู้ป่วย
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต เพื่อติดตามอาการผู้ป่วย
บันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออกจากร่างทายทุก 8 ชั่วโมง
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ ค่า Bun ,Cr,Albumin,eGFR
สัญญาณชีพ
13/10/62
BT=36.9 C PR=76 ครั้ง/นาที BP=110/60 mmHg RR=20 ครั้ง/นาทีO2sat=99%
14/10/62
BT=73.1 C PR=84 ครั้ง/นาที BP=130/70 mmHg RR=20 ครั้ง/นาทีO2sat=99%
ได้ยา meropenam
15/10/62
BT=36.4 C PR=86 ครั้ง/นาที BP=130/80 mmHg RR=20 ครั้ง/นาทีO2sat=98%
ได้ยา meropenam
ผู้ป่วยมีอาการ ซึม อ่อนเพลียลงจากเดิม เหนื่อยง่ายขึ้น
ผู้ป่วยมีภาวะซีด
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการพยาบาล
ผู้ป่วยมีผิวซีดคล้ำเหลือง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย หายใจต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
Hb ⚠ 7.6 g/dL
Hct ⚠ 22.8 %
RBC ⚠ 2.69 x 10^6/uL
เพื่อลดภาวะซีดให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ไม่มีอาการของภาวะซีด รู้สึกเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น หายใจลำบากขณะออกแรง มึนงง วิงเวียนศีรษะ ปวดหัว มีอาการมือเท้าเย็น ผิวซีดหรือ
ผิวเหลือง เจ็บหน้าอก ใจสั่น หัวใจทำงานหนักจนหัวใจล้มเหลว
สังเกต ประเมินอาการของภาวะซีด อ่อนเพลียของผู้ป่วย เพื่อเฝ้าระวังอาการ
สัญญาณชีพปกติ BT=36.5-37.4 ‘C
RR=16-24 bpm
HR=6-100bpm
BP=140/90 mmHg
O2 sat>95%
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะค่าอัตราการหายใจ และค่าO2sat ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ลดการใช้ออกซิเจนของผู้ป่วยโดยการให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียงพักผ่อนมากๆ ไม่ออกกำลังกายหักโหมใช้แรงมาก
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับเลือดLPRC group "O" VI drip in 4 hrให้ครบตามแผนการรักษา
ตรวจสภาพ ชนิดของเลือดก่อนให้ทุกครั้ง สังเกตอาการก่อน ขณะ และหลังให้เลือด
ประเมินความรู้สึกตัว สัญญาณชีพ อาการแทรกซ้อน
ที่อาจเกิดขึ้นได้บวม แดง ร้อน ผื่นตามผิวหนัง แน่นหน้าอกหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหาร feed 2:1 250ml x 4feed ตามการรักษา
ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการอย่างสม่ำเสมอ
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวลเนื่องจากอยากกลับบ้าน
ข้อมูลสนับสนุน
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมิน
กิจกรรมการพยาบาล
ผู้ป่วยคอยบอกกับพยาบาลและนักศึกษาเสมอว่า ช่วยด้วย อยากกลับบ้าน
ผู้ป่วยเวลาเรียก มักจับมือด้วยเสมอ มีสีหน้าและแววตามีความหวังว่าจะได้กลับบ้าน
ญาติบอกว่าผู้ป่วยต้องเข้าออกโรงพยาบาลบ่อยครั้ง จากการต้องฟอกไต
เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
ผู้ป่วยพูดถึงเรื่องการกลับบ้านลดลง สามารถปรับตัวใช้ชีวิตประจำวันในโรงพยาบาลได้
ผู้ป่วยเข้าใจถึงเหตุผลที่ยังไม่ได้กลับบ้าน
ผู้ป่วยมีสีหน้ากังวลลดลง
ประเมินและสังเกตอาการของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เช่น อาการซึมเศร้า ร้องไห้ ไม่พยายามสื่อสารกับใครเพื่อติดตามประเมินความรู้สึกผู้ป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงการรักษาของแพทย์ปัจจุบันนี้ ขั้นตอนของการกลับบ้าน เกี่ยวกับการจำหน่ายผู้ป่วย ให้เข้าใจและทำความเข้าใจ
สร้างสัมพันธภาพที่ดี เพื่อให้ผู้ป่วยไว้วางใจและคุ้นเคย
ให้ญาติคอยมาเยี่ยมอย่างสม่ำเสมอ ให้ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนไม่ได้ถูกทอดทิ้งให้อยู่ลำพัง
การให้เลือด
ผู้ป่วยเคยได้รับเลือดไป 9 ครั้ง ชนิด LPRC group "O" VI drip in 4 hr ทั้งหมดไม่พบภาวะแทรกซ้อนใดๆ นอกจากอาการ เหนื่อย อ่อนเพลีย
20/09/62
LPRC 2 unit 276ml group "O" VI drip in 4 hr
31/09/62
LPRC 1 unit 279ml group "O" VI drip in 4 hr
13/10/62
LPRC 2 unit 236ml group "O" VI drip in 4 hr
โรคหัวใจ 4 ปี
การแพ้ยา
Ciprofloxacin มีอาการใจสั่น ซึม อ่อนเพลีย
Cefditoren มีอาการใจสั่น
ดูแลสายdouble lumen catheter ระวังไม่ให้เปียกน้ำ หากเปียกต้องทำแผลใหม่
ดูแลไม่ให้มีอะไรไปกดทับบริเวณปลายสายสวนเพราะอาจทำให้สายหักพับหรือเกิดลิ่มเลือดอุดตันในสายได้