Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Theory) (Cognitive Behavioral…
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม (Cognitive Theory)
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา (Intellectual Development Theory)
เพียเจต์ (Piaget)
กระบวนการทางสติปัญญา
การปรับและจัดระบบ (accommodation)
การเกิดความสมดุล (equilibration)
การซึมซับหรือการดูดซึม (assimilation)
พัฒนาการทางสติปัญญาของบุคคลเป็นไปตามวัยต่างๆ
ขั้นรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส (Sensori-motor Period)
ช่วง 0 -2 ปี ความคิดของเด็กวัยนี้ขึ้นกับการรับรู้และการกระทำเด็กยึดตัวเองเป็นศูนย์ กลาง และยังไม่สามารถเข้าใจความคิดของผู้อื่น
ขั้นก่อนปฏิบัติการคิด (Pre-operational Period)
ช่วงอายุ 2-7 ปี ความคิดของเด็กวัยนี้ยังขึ้นอยู่กับการรับรู้เป็นส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถที่จะใช้เหตุผลอย่างลึกซึ้ง แต่สารถเรียนรู้และใช้สัญลักษณ์ได้ การใช้ภาษา
บรูเนอร์ (Bruner)
ขั้นการเรียนรู้จากความคิด (Iconic Stage)
สร้างมโนภาพในใจได้และสามารถเรียนรู้จากภาพแทนของจริงได้
ขั้นการเรียนรู้สัญลักษณ์และนามธรรม (Symbolic Stage)
สามารถการเรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อน มีสัญลักษณ์ต่างๆและเป็นนามธรรมได้
ขั้นการเรียนรู้จากการกระทำ (Enactive Stage)
เรียนรู้จากการใช้ประสาทสัมผัสรับรู้สิ่งต่าง ๆ
ทฤษฎีสนาม (Field Theory)
พฤติกรรมมนุษย์แสดงออกมาอย่างมีพลังและทิศทาง สิ่งที่อยู่ในความสนใจและต้องการจะมีพลังเป็นบวก ซึ่งเรียกว่า Life space สิ่งใดที่อยู่นอกเหนือความสนใจจะมีพลังเป็นลบ
สิ่งแวดล้อมรอบตัวมนุษย์
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment)
สัตว์
สิ่งของ
คน
สถานที่
สิ่งแวดล้อมทางจิตวิทยา (Psychological environment)
โลกแห่งการรับรู้ตามประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งอาจจะเหมือนหรือแตกต่างกับสภาพที่สังเกตเห็นโลก หมายถึง Life space นั่นเอง
ทฤษฎีโครงสร้างความรู้ (Schema Theory)
ประสบการณ์เดิมของผู้เรียนมีผลต่อการเรียนรู้ เพราะในการเรียนรู้ผู้เรียนจำเป็นจะต้องนำความรู้เดิมที่เก็บสะสมไว้เข้ามาช่วยในการตีความเพื่อความเข้าใจความรู้ใหม่ได้ดีขึ้น
โครงสร้างความรู้เนื้อหา (Content Schemata)
การที่ผู้อ่านมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะลีลาการเขียนและโครงร่างของเรื่องมาก่อน
หนังสือพิมพ์
กาารเขียนเชิงบรรยาย
โครงสร้างความรู้เดิม แบบรูปนัย (Formal Schemata)
การที่ผู้อ่านมีความรู้เดิมเกี่ยวกับเนื้อหาของเรื่องในสาขาวิชาหนึ่งมาก่อน
เศรษฐกิจ
การแพทย์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของกลุ่ม เกสตัลท์ Gestalt Theory
"การรับรู้เป็นส่วนรวมมากกว่าส่วนย่อย"
The Laws of Organization
Law of Proximity
สิ่งเร้าใดๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกัน มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้ สิ่งต่างๆ ที่อยู่ใกล้ชิดกันเป็นพวกเดียวกัน หมวดหมู่เดียวกัน
Law of Closure
"แม้ว่าสถานการณ์หรือปัญหายังไม่สมบูรณ์ อินทรีย์ก็จะเกิดการเรียนรู้ ได้จากประสบการณ์เดิมต่อสถานการณ์นั้น"
Law of Similarity
ใช้เป็นหลักการในการวางรูปกลุ่มของการรับรู้ เช่น กลุ่มของ เส้น หรือสี ที่คล้ายคลึงกัน ซึ่งคนเราจะรับรู้ว่า เป็นสิ่งเดียวกัน หรือพวกเดียวกัน
Law of Continuity
สิ่งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่งผู้เรียนจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน
Law of Pragnanz
ภาพหรือข้อมูลที่ต้องการให้สนใจ เพื่อเกิดการเรียนรู้ในขณะนั้น (Figure)
ส่วนประกอบหรือพื้นฐานของการรับรู้ (Background or Ground) เป็นสิ่งแวดล้อมที่ประกอบอยู่ในการเรียนรู้ นั้น ๆ
Law of Closer
สิ่งเร้าที่ขาดหายไปผู้เรียนสามารถรับรู้ให้เป็นภาพสมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learnning)
โครงสร้างทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ของ มนุษย์ และได้แบ่งการรับรู้
การเรียนรู้โดยการท่องจำ
การเรียนรู้โดยการค้นพบอย่างมีความหมาย
การเรียนรู้โดยเรียนรู้อย่างมีความหมาย
การเรียนรู้โดยการค้นพบแบบท่องจำ
Cognitive Behavioral Therapy
เทคนิคพื้นฐาน
หาความคิดอัตโนมัติ
หาสถานการณ์
4 W
What
When
Who
Where
ประเมินความคิด
การบอกอารมณ์ตนเอง
ปรับแก้ความคิด
ประเมินระดับอารมณ์
แนวคิดพื้นฐาน
การบําบัดด้วย CBTเชื่อว่าความคิดที่บิดเบือนไปจากความเป็นจริงหรือ dysfunctional thinking
ทําให้เกิดผลกระทบต่ออารมณ์ของมนุษย์
ขั้นตอนคือการทําให้ผู้ป่วยเข้าใจก่อนว่าความคิดนั้นมีความ dysfunctionalอย่างไร
แล้วให้ประเมินและแก้ไขให้ดีขึ้น
การรักษาที่ใช้การผสมผสานระหว่างเทคนิคการปรับความคิดและการปรับพฤติกรรม ซึ่งในการรักษาผู้รักษาจะเป็นผู้ชี้แนะให้ผู้ป่วยได้เข้าใจรูปแบบต่างๆของความคิดที่เบี่ยงเบนและพฤติกรรมที่ผิดปกติ
ขั้นตอน
ร่วมมือกันกําหนดหัวข้อ (set agenda) สําหรับการพูดคุยวันนี้
สรุปเนื้อหาที่พูดคุย
ทบทวนการบ้านของสัปดาห์ที่แล้ว รวมที่งข้อมูลสะท้อนกลับ (feedback) จาก
session ที่แล้ว
พูดคุยหัวข้อตามที่ตกลง
ให้ผู้ป่วยเล่าคร่าว ๆ ว่าสัปดาห์ที่ผ่านมาเป็นอย่างไรบ้าง
กําหนดการบ้านสําหรับวันนี้
ตรวจสอบอารมณ์ของผู้ป่วย
ขอข้อมูลสะท้อนกลับจากผู้ป่วยตอนท้าย session
ทฤษฎีความยืดหยุ่นทางปัญญา (Cognitive Flexibility Theory)
การเพิ่มคุณค่าของการใช้เทคโนโลยีช่วยในกระบวนการเรียนรู้เพื่อตอบสนองโครงสร้างขององค์กรความรู้ที่แตกต่างกัน
กระบวนการทางปัญญา
การเชื่อมโยงความคิดรวบยอดเป็นกฎเกณฑ์ หลักการด้วยวิธีอุปนัย
การนำกฎเกณฑ์ หลักการไปประยุกต์ใช้ด้วยวิธีนิรนัย
การจำแนกสิ่งเร้าจัดกลุ่มเป็นความคิดรวบยอด
การสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ๆ
การรับรู้สิ่งเร้า
ทฤษฎีเครื่องหมาย (Sign Theory)
การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้นำทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายการเรียนรู้
ระหว่างการเรียนรู้ ผู้เรียนพยายามจะไปให้ถึงจุดหมายที่ต้องการ ซึ่งผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ด้วยเครื่องหมาย สัญลักษณ์ และสิ่งอื่น ๆ ที่เป็นเครื่องชี้นำทางตามไปด้วย
การเรียนรู้สิ่งต่างๆ ผู้เรียนมีความสามารถที่จะปรับการเรียนรู้ของตนไปตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนไปโดยจะไม่กระทำซ้ำ ๆ ในทิศทางที่ไม่สามารถสนองความต้องการหรือจุดหมายของตน
การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในบุคคลใดบุคคลหนึ่ง บางครั้งจะไม่แสดงออกในทันที แต่อาจจะแฝงอยู่ในตัวผู้เรียนไปก่อนจนกว่าจะถึงเวลาที่เหมาะสมหรือจำเป็นจึงจะแสดงออก
การเรียนรู้สิ่งต่างๆ ผู้เรียนมีความคาดหวังรางวัล (reward expectancy)