Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่ 3 กระดูกหัก (Fracture) (การรักษา (แพทย์ได้ทำ skeletal…
กรณีศึกษาที่ 3 กระดูกหัก (Fracture)
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC : Hct= 32 Vol%, WBC= 9,050 cell/mm3 , Platelet= 220,000cell/mm3
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อกเนื่องจากการสูญเสียเลือด
-ประเมินสัญญาณชีพสังเกตอาการซีด
-บันทึกปริมาณเลือดที่ออกหรือสังเกตอาการบวมบริเวณที่กระดูกหัก
-ดูแลให้สารน้ำเลือดและส่วนประกอบของเลือดตามแผนการรักษา
-ติดตามผลฮีมาโตคริต
เสี่ยงต่อการเกิด Compartment syndrome เนื่องจากเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ / ใส่เผือก
-ประเมิน 6Ps โดยการจับชีพจร popliteal, posterior tibia, dorsalis pedis อาการปวดเสียวชาจับเท้าสังเกตอาการซีดไม้เคลื่อนไหว
-ประเมิน blanching test กดที่เล็บมือเล็บเท้า (ค่าปกติ capillary refill time ไม่เกิน 3 วินาที)
-วัดรอบอวัยวะที่หักทุกเวรเพื่อประเมินอาการบวมหากบวมมากขึ้นให้ขยายสิ่งกดรัด
-หากสงสัยว่ามีอาการแสดงของ Compartment Syndrome ไม่ยกบริเวณที่นักสูงกว่าหัวใจและรายงานแพทย์ทันทีเพื่อพิจารณาทำ fasciotomy
ผลการตรวจทางรังสี
Film x ray: Close fracture left femur, Closed fracture left distal radiu CXR : normal EKG : normal
สาเหตุ
ได้รับอุบัติเหตุถูกรถยนต์ชน เป็นการได้รับอุบัติเหตุโดยตรง (Direct force)
ผู้ป่วยอายุ 53 ปี ซึ่งยิ่งอายุมากขึ้น จะทำให้มวลกระดูกลดลง
การรักษา
แพทย์วางแผนทำผ่าตัด ORIF ในวันถัดไปคือ การทำให้อวัยวะอยู่นิ่ง (Retention หรือ immobilization) โดยการยึดตรึงการยึดตรึงภายในตรงบริเวณกระดูกหัก (Open reduction with internal Fixation)
มีความกังวลเกี่ยวกับโรคการผ่าตัดการเตรียมตัวก่อนผ่าตัดและการปฏิบัติตนหลังผ่าตัด
สอนการเตรียมตัวก่อนผ่าตัดและการปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเหมือนการเตรียมผู้ป่วยผ่าตัดทั่วไปเน้นความสำคัญของออกกำลังกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวข้อเพื่อป้องกันกล้ามเนื้อลีบข้อติดแข็ง
การฟื้นฟูสภาพภายหลังผ่าตัดและการดูแลตนเองเมื่อกลับบ้านเนื่องจากขาดความรู้
-ภายหลังผ่าตัดลุกนั่งข้างเตียงโดยเร็วที่สุด
-ในการผัดเดินครั้งแรกโดยยังไม่ลงน้ำนักยาบ้างผ่าตัดฝึกสัดยืนทรงตัวโดยไม่จับอุปกรณ์ใดๆ
-สอนผู้ป่วยเดินด้วยไม้ค้ำยัน (crutch) โครงโลหะช่วยเดิน (walker) ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุไม่ลงน้ำหนักยา ข้างผ่าตัดก่อนแพทย์อนุญาตการดูแลแผลผ่าตัดถ้ามีสิ่งผิดปกติตรงบริเวณกระดูกทับเช่นปวดบวมชามีสิ่งขับหลั่งออกตรงบริเวณที่ผ่าตัดให้มาพบแพทย์ทันที
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
แพทย์ได้ทำ skeletal traction ที่ขาขวาใช้น้ำหนักถ่วง 6 Kg และใส่เฝือก (cast) ที่แขนซ้าย
Internal fixation
-การใส่โลหะยึดตรึงกระดูกภายในร่างกาย (Open Reduction Internal Fixation: ORIF) & มายถึงการผ่าตัดเพื่อจัดกระดูกที่หักให้เข้าที่โดยใช้วัสดุต่างๆเช่นแผ่นเหล็ก (plate) แท่งเหล็กปลายแหลม (pin) ลวด (wire) สกรู (screw) หรือแกนดามกระดูก (nal) ยึดตรึงกระดูกที่หักไว้เพื่อช่วยในการสมานกันของกระดูก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการเข้า Traction เข้าเฝือกปูน Skeletal traction
-ดูแลการดึงถ่วงน้ำแนวตามผลักการเข้า Traction
-ประเมินภาวะการติดเชื้อบริเวณผิวผนังที่ใส่เหล็ก (pin site) เกี่ยวกับลักษณะบวมแดงปวดร้อนกดเจ็บและสิ่งยับหลัง
-ประเมินความรู้สึก (sensation) การเคลื่อนไหว (motion) และการไหลเวียนเลือดเพื่อป้องกันการได้รับ บาดเจ็บของเส้นประสาทและผลอดเลือด-ดูแลมีใยอบของเครื่องพยุงเช่น Bohler Braun splint หรือ Thomas splint กดทับผิวผนังทำให้เกิดแผลและดูบริเวณส้นเท้ามีให้ถูกกดทับ
-ออกกำลังกล้ามเนื้อและเคลื่อนไหวข้อเพื่อป้องกันกล้ามเนื้อลีบข้อติดแข็ง-ออกกำลังกล้ามเนื้อ Quadriceps femoris แบบ isometric exercise เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ขมิบกัน และออกกำลังกล้ามเนื้อแขนยาบ้างดี
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Tramal 50 mg iv prn q 6 hr
5% D/NSS/2 1000 ml iv drip 80 cc/hr
Cefazolin 1 gm iv q 6 hr
จองเลือด 2 unit และให้ Pack red cell 1 unit stat
Hct q 4 hr.
การบาดเจ็บ ฉีกขาดของเยื่อหุ้มกระดูก (Periosteium)
เกิดการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อทำให้เกิดการอักเสบหลอดเลือดขยายตัว
โปรตีนซึมผ่านออกมาในเนื้อเยื่อรอบๆ
เกิดการบาดเจ็บของเส้นประสาท ทำให้ปวด บวม และชา
เกิดการดึงรั้งของกล้ามเนื้อตามแนวกระดูกหัก ทำให้มีลักษณะผิดรูป
ชนิดของกระดูกหัก
แบ่งตามความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นที่หัก
ขา เป็นชิ้นที่หักมีการเลื่อนจากกัน (Displaced fracture)
แบ่งตามขอบเขตของการหัก
ข้อมือเป็นกระดูกขาดจากกันโดยตลอด (Complete fracture)
ๅ
แบ่งตามความสัมพันธ์ของรอยถูกกับสิ่งแวดล้อม
ข้อมือกับขากระดูกหักแบบปิด (Closed fracture)
อาการ
รู้สึกตัวดี อ่อนเพลีย ไม่มีอาการสับสน E4M6V5
มีรอยซ้ำ ไม่มีบาดแผล
ขาขวาสั้นกว่าขาซ้าย เวลาเคลื่อนไหวขาขวาจะเจ็บมาก
กระดิกนิ้วปลายเท้าได้ ชาที่ปลายเท้าเล็กน้อย
บ่นปวดที่ขาขวา Pain score=8
Link Title
ข้อวินิฉัยทางการพยาบาล ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดแผล
5 more items...
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ deep vein thrombosis ข้อติดกล้ามเนื้อลีบเนื่องจากการจำกัดการเคลื่อนไหว
-ฝึกการบริหารหายใจการไอเพื่อให้หายใจและไออย่างมีประสิทธิ์ภาพ
-การผลิกตะแคงตัวหรือสอนให้ผู้ป่วยโผนตัวโดยใช้บาร์ที่เหนือศีรษะ (over head bar หรือ trapeze) ยกก้นลอยจากพื้นเตียง
-กระตุ้นให้ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันให้มากที่สุด
-กระตุ้นให้ผู้ป่วยออกกำลังกล้ามเนื้อกระดกข้อเท้าขึ้นลงเพื่อป้องกันข้อติดแข็ง
-ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
-สารอาหาร High Ca, protein, calories, Vit C และอาหารที่มีกากใยเพื่อการขับถ่ายได้ดี
-ดูแลสายสวนระบายปัสสาวะเพื่อไม่ให้สายหักพับงอ
-สังเกตการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินปัสสาวะเพื่อวางแผนการพยาบาลต่อไป
พยาธิสภาพ
ภาวะแทรกซ้อนระยะท้าย (late complication)
ผู้ป่วยบ่นปวดขามากขึ้น
ขาชา
พยาบาลตรวจพบว่าต้นขาข้างขวาบวมมากขึ้น
ปลายเท้าซีดและเย็น
คลำชีพจรที่ dorsalis pedis pulse 1+ posterior tibia pulse 0
ประเมิน Blanching test = 4 วินาที
Hct at 18.00 น. = 29 Vol%
Hct at 22.00 น. = 26 Vol%
มีการอักเสบ (Inflammatory phase) เกิดขึ้นใน
24-72 ชั่วโมง