Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการและแนวโน้มวิชาชีพ พยาบาลในด้านต่างๆ…
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการและแนวโน้มวิชาชีพ
พยาบาลในด้านต่างๆ
ปัจจัยด้านการเมือง
ประกาศ อย.
ผลกระทบ
จำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันเพิ่มมากขึ้น
ค่าใช่จ่ายในการใช้รักษาเพิ่มขึ้น
แนวทางการพัฒนา
ให้คำแนะนำการบริโภคอาหาร โดยเลี่ยงไขมันทรานส์+น้ำตาสูง
กฎกระทรวง
ผลกระทบ
เกิดความเสี่ยหายต่อผู้รับบริการ
บริการไม่มีมาตรฐาน
แนวทางการพัฒนา
ผู้ป่วยได้รับการพยาบาลตามมาตรฐาน
สร้างแนวทางกาาดูแลผู้ป่วย
พระราชบัญญัติเงินทดแทน
ผลกระทบ
การเกิดการบาดเจ็บระหว่างการทำงาน
สิทธิผู้ป่วย
แนวทางการพัฒนา
สร้างแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล
Stem cell
ผลกระทบ
ขาดความรู้เกี่ยวกับStem cell
แนวทางการพัฒนา
มีการจัดหางบประมาณเพื่อส่งบุคคลากรอบรมเฉพาะทางระยะสั้น
ทบทวนองค์ความรู้ด้านstem cell
ทำวิจัยเผยแผ่เกี่ยวกับการปลูกถ่ายstem cell
รธม. มาตรา 55
ผลกระทบ
ขาดความรู้ในการใช้สมุนไพร
บุคลากรการแพทย์แผนไทยมีน้อย
แนวทางการพัฒนา
ส่งอบรมเฉพาะทางระยะสั้น
รธม. มาตรา 47
ผลกระทบ
ขาดแคลนพยาบาล
แนวทางการพัฒนา
บริการสุขภาพเชิงรุก
เพิ่มค่าตอบแทย+สวัสดิการ
จัดอัตรากำลังให้เหมาะสม
หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ผลกระทบ
ผู้ป่วยไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสม
แนวทางการพัฒนา
เพิ่มพูนความรู้ด้านทักษะในการส่งเสริมสุขภาพ
ปัจจัยด้านการศึกษา
ด้านการศึกษา
ผลกระทบ
นักศึกษาวิเคราะห์ไม่เป็น
ความไม่กล้าหาญทางจริยธรรม
แนวทางการพัฒนา
ฝึกให้คิดวิเคราะห์มากขึ้น
พัฒนาความไม่กล้าหาญทางจริยธรรม
ด้านการวิจัยและองค์ความรู้
ผลกระทบ
นวัฒตกรรมมีมากแต่ใช้ประโยชน์ได้น้อย
ขาดการใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์มาใช้ในการดูแล
แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมให้มีการนำหลักฐานเชิงประจักษ์มาใช้ให้เป็นประโยชน์
พัฒนานวัตกรรมให้มีคุณภาพ
ด้านบริหาร
ผลกระทบ
การ Train พยบาลจบใหม่ใช้เวลานานขึ้น
เกิดช่องว่างในการให้บริการ
แนวทางการพัฒนา
ผู้บริหารทำความเข้าใจกับเด็กรุ่นใหม่มากขึ้น
มีการจับคู่ Train ของพยาบาลจบใหม่กับพยาบาลที่มีประสบการณ์
ด้านบริการ
ผลกระทบ
การสื่อสารกับผู้รับบริการต่างชาติไม่มีประสิทธิภาพ
การบริการไม่ตรงกับความต้องการ
ศักยภาพการรับรู้ของประชาชนไม่มีประสิทธิภาพ
แนวทางการพัฒนา
จัดอบรม สอบวัดผลภาษาอังกฤษ
ให้บริการโดยคำนึงถึงความแตกต่างของบุคคลและการให้ครอบครัวมีส่วนรวม
ช่วยกำหนดทิศทางของชาติเพื่อพัฒนาคนไทยให้มีความพร้อมที่จะเป็นกำลังสำคัญสำหรับการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า การศึกษาไทยได้มีการพัฒนาและปรับปรุง แก้ไขมาตลอด แต่ยังมีปัญหาอุปสรรคในการจัดการศึกษาและการบริหารการศึกษาหลายประการที่ส่งผลต่อผู้เรียนและบุคคลในทุกระดับ
ปัจจัยด้านสังคม
ด้านบริหาร
ผลกระทบ
ขาดแคลนบุคคลากร
ภาระค่าใช้จ่ายสูง
การประสานงานไม่มีประสิทธิภาพ
แนวทางการพัฒนา
เน้นการให้บริการที่บ้าน ลดการเข้ารพ.
มีการส่งต่อประสานงานกับองค์กรภายนอก
จัดสรรกำลังคนให้เหมาะสมกับงาน+สร้างแรงจูงใจ
ด้านการศึกษา
ผลกระทบ
หลักสูตรการศึกษาไม่มีประสิทธิภาพ
ความรู้ ทักษะ ในการปฏิบัติการไม่เพียงพอ
ขาดการประยุกต์ใช้ และการผสมผสานวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
แนวทางการพัฒนา
ปรับเปลร่ยนการเรียนการสอน
เน้นการเรียนรู้ปฏิบัติจากสถานการณ์จริง และสถานการณ์จำลอง
เน้นการประยุกต์ใช้วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ฝึกการใช้เทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
อบรมหลักสูตรเฉพาะทาง
ด้านบริการ
ผลกระทบ
การเข้าถึงบริการสุขภาพไม่มีประสิทธิภาพ
การฟ้องร้อง
ความต้องการการบริการทางสุขภาพมากขึ้น
เทคโนโลยีไม่ทันสมัย
แนวทางการพัฒนา
จัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุโดยเฉพาะ
เน้นส่งเสริมคัดกรองมากกว่ารักษา
เปิดบริการนอกเวลาเพิ่มขึ้น
พัฒนาระบบการส่งต่อแบบ Fast track และรักษาร่วมแบบ Video conference
ด้านการวิจัยและองค์ความรู้
ผลกระทบ
ขาดการศึกษาและติดตามงานวิจัย
ขาดแหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
รูปแบบงานวิจัยมีไม่หลากหลาย
แนวทางการพัฒนา
เน้นการวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ +พัฒนานวัตกรรม+R2R และ R and D
ประชากร
กลุ่มผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
รัฐขาดนโยบายดูแลผู้สูงอายุ
ขาดผู้ดูแล ถูกทอดทิ้ง
โรคเรื้อรังสูงขึ้น
สังคมขาดแคลนวัยแรงงาน
ครอบครัว
ครอบครัวเดี่ยวสูงขึ้น
ขาดคนดูแลยามเจ็บป่วย
สัมพันธภาพในครอบคัวลดลง
อัตราครองโสดสูงขึ้น
ชุมชน
อดีต
สังคมเกษตรกรรม
ปัจจุบัน
สังคมยุคดิจิตอล (ไทยแลนด์ 4.0)
เกิดความเลื่อมล้ำทางสังคม
วัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย
ประชาการแออัด
วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ และศาสนา
กระแสโลกาภิวัฒน์ +เครือข่ายสังคมไร้พรมแดน
เกิดปัญญฟ้องร้อง
ขาดการต่อยอดวัฒนธรรมภูมิปัญญา
การบริการเป็นเชิงธุระกิจ รพ.
ผลกระทบ