Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการและ แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล(ต่อ) (ปัจจัยด้านสังคม…
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการและ
แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล(ต่อ)
ปัจจัยด้านสังคม
แนวทางการพัฒนาการและ
แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล
บริการพยาบาล
พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในผู้สูงอายุ
มีระบบส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุติดสังคม
มีระบบการแพทย์ทางไกล
มีระบบการส่งต่อผู้ป่วย
ระบบการพยาบาลเน้นความปลอดภัย ได้มาตรฐาน มีคุณธรรมจริยธรรม
บริหารพยาบาล
ใช้บุคลากรแบบผสมผสาน (Skill mix)
จัดอัตรากำลังให้เพียงพอกับจำนวนของผู้รับบริการ
ผู้บริหาร บริหารงานโดยใช้ทักษะการเจรจาต่อรอง ไกล่เกลี่ย
การศึกษาพยาบาล
ปรับปรุงวิธีการสอนโดยทดสอบการปฏิบัติการกับ Simulation
ปรับปรุงวิธีการสอนเป็นแบบ Active learning
จัดอบรมเฉพาะทางการดูแลผู้สูงอายุและจิตเวช
เปลี่ยนรูปแบบการเรียนภาษาอังกฤษโดยเน้นการสื่อสาร
การวิจัยและการพัฒนา
องค์ความรู้
เน้นวิจัยแบบงานประจำสู่งานวิจัย R2R และการวิจัยแบบวิจัยเชิงพัฒนางาน R&D เช่น วิจัยส่งเสริมสุขภาพและดูแลผู้สูงอายุจากนวัตกรรม วิจัยเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับบริการ วิจัยเกี่ยวกับความต้องการของพยาบาลแต่ละ Generation
ผลกระทบ
การศึกษาพยาบาล
ผู้รับบริการไม่เชื่อมั่นในการให้บริการของนักศึกษาพยาบาล
หลักสูตรเฉพาะทางผู้สูงอายุมีน้อย
ปัญหาการสื่อสารจากการเปิด AEC
บริการพยาบาล
ผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น ทำให้มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังมากขึ้น
การเข้าถึงบริการสุขภาพของผู้สูงอายุไม่เพียงพอ
ความแตกต่างทางความคิด ลักษณะ และทัศนคติของแต่ละ Generation
มีความต้องการการดูแลทางด้านจิตใจเพิ่มมากขึ้น
การวิจัยและการพัฒนา
องค์ความรู้
วิจัยด้านการดูแลผู้สูงอายุมีน้อย
ปัจจุบันงานวิจัยเน้นเชิงวิชาการไม่สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง
บริหารพยาบาล
อัตรากำลังของพยาบาลเฉพาะทางในการให้บริการด้านจิตใจ ผู้สูงอายุ และเด็กที่มีปัญหาไม่เพียงพอ
พยาบาลเกิดการลาออกจากการขัดแย้งภายในองค์กร
เกิดปัญหาการฟ้องร้อง
ผู้รับบริการขาดความเชื่อมั่นจากการให้บริการ
ลักษณะ
ในอนาคตประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing society หรือ Aging society)
ขนาดของครัวครัวที่เล็กลงทำให้เกิดผลกระทบต่อสังคมไทยคือ ขาดผู้ดูแลยามเจ็บป่วย
เกิดความเลื่อมล้ำทางสังคม มีการแบ่งชนชั้นระหว่างคนรวย คนจน และเกิดการฟ้องร้องมากขึ้น
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
ผลกระทบ
บริหารการพยาบาล
เทคโนโลยีบริหาร อุปกรณ์และ โดยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์(e-Market)เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า คุ้มทุน
ค่าตอบแทนของบุคลากรสาธารณสุขโดยการใช้โปรแกรม Pay-for-Performance (P4P)
เทคโนโลยีการจัดการ (Management) ได้แก่ การบันทึกทางการพยาบาลแบบอิเล็กทรอนิกส์การจัดฐานข้อมูล ช่วยลดค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลลดการใช้กระดาษ
เทคโนโลยีการบริหารคนหรือเเรงงาน เช่น ช่วยในการจัดอัตรากำลังคน การจัดตารางเวร
บริการพยาบาล
ช่วยให้เกิดความถูกต้อง ทางด้านอุปกรณ์ที่ทันสมัยในการตรวจ และรักษา การวินิจฉัยโรค ประหยัดเวลา รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อน
เพิ่มประสิทธิภาพ ช่วยประกอบการตัดสินใจที่ซับซ้อน โดยเฉพาะในการดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤติ
การศึกษาพยาบาล
ยึดหลักการ “สอนให้ น้อยลง แต่ให้เรียนรู้ให้มากขึ้น (Teach less, Learn more)”
เน้นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้
มีการสร้างข้อมูลสารสนเทศในรูปของ อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น เช่น ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ออนไลน์ฐานข้อมูลวารสารเฉพาะทาง ข้อมูลที่เผยแพร่บน Web, Blog แต่ปัจจุบันที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า ทำให้การ “ลอก-copy” ข้อความจากงานของผู้อื่นมา “วาง-paste” ไว้ใน งานของตัวเองทำได้อย่างง่าย
แนวทางการพัฒนาการและ
แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล
บริหารพยาบาล
พัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้นำด้านการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship)
พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีของผู้บริหารการพยาบาลให้รู้เท่าทัน
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้
พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีของพยาบาลรุ่นเก่าในการสืบค้นข้อมูลวิจัย
ปลูกฝังจิตสำนึกของนักศึกษาพยาบาลไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่น
บริการพยาบาล
พัฒนาศักยภาพของพยาบาลในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และรู้เท่าทัน
การศึกษาพยาบาล
พัฒนาโดยการเพิ่มทักษะความเข้าใจ
และใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy
ลักษณะ
คุณลักษณะยุคดิจิทัล
ความรวดเร็วในการสื่อสาร
การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ไม่มีขอบเขตหรือข้อจำกัดในเรื่องเวลาหรือสถานที่
การใช้เทคโนโลยีมาบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ
เป็นการเปลี่ยนแปลงของโลกที่สิ่งหนึ่งเข้ามาแทนที่อีกสิ่งหนึ่ง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดความท้าทายในการก้าวเข้าสู่ยุค Digital