Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งเครื่องช่วยหายใจ (การดูแลผู้ป่วยขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ (1…
การตั้งเครื่องช่วยหายใจ
ข้อบ่งใช้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
เพื่อให้มี alveolar ventilation เพียงพอ
เพื่อให้มี gas exchange เพียงพอ
เพื่อลด work of breathing
เพื่อลดความรู้สึกเหนื่อยของผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยขณะใช้เครื่องช่วยหายใจ
1.ประมาณความสุขสบายของผู้ป่วย คือ หายใจสัมพันธ์กับเครื่อง ไม่มีอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน เช่น หายใจหอบเหนื่อย
2.ประเมินการแลกเปลี่ยนก๊าซ ได้แก่ วัดความเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้ว, เจาะเลือด ABG
3.ประเมินสภาพปอด โดยการใช้หูฟัง ฟังเสียงลมผ่านปอด เท่ากันทั้ง 2 ข้าง/ไม่พบเสียงผิดปกติ
4.ประเมินท่อช่วยหายใจ ตำแหน่งของท่อช่วยหายใจ ปลายของท่อช่วยหายใจอยู่ในตำแหน่งอย่างน้อยที่สุด 2 เซนติเมตร เหนือ carina
5.ประเมิน v/s ทุก 1 ชม.เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
6.เตรียม x-ray หลังจากใส่ท่อหายใจ เพื่อตรวจดูท่อช่วยหายใจ อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมหรือไม่
7.กรณีท่อช่วยหายอยู่ลึกเกินไป ทำให้ได้ยินเสียงลมผ่านปอดดังข้างเดียว ส่วนใหญ่มักให้เลื่อนท่อช่วยหายใจขึ้นและกรณีใส่ท่อตื้นเกินไป แพทย์อาจให้เลื่อนท่อช่วยหายใจขึ้น
8.ตรวจสอบตำแหน่งของท่อช่วยหายใจ (mask) วัดที่เท่าไหร่ ใส่ท่อช่วยหายใจเบอร์อะไร พร้อมทั้งลงบันทึกไว้ทุกเวรเพื่อป้องกันการเลื่อนหลุด
9.ตรวจสอบความดันใน cuff ทุกเวรว่าความดันเพียงพอหรือไม่
10.ฟังปอดก่อนและหลังใส่ท่อช่วยหายใจ และเวรละ 1 ครั้ง เพื่อประเมินว่ามีเสียงผิดปกติหรือไม่ หากพบให้รายงานแพทย์
11.จัดท่านอนศีรษะสูง 30-60 องศา เพื่อให้หายใจได้สะดวกและป้องกันการเกิดปอดอักเสบ
12.ดูแลการดูดเสมหะเมื่อจำเป็น ควรฟังปอดก่อนดูดเสมหะเสมอเพื่อรบกวนผู้ป่วยให้น้อยที่สุด
13.ทำความสะอาดปากและฟันของผู้ป่วยให้สะอาด ทุก 1-2 ชั่วโมง
14.ดูแลสายวงจรไม่ให้หักพับ งอ เพราะจะทำให้ผู้ป่วยได้รับปริมาตรของอากาศไม่ตรงกับค่าที่ตั้งไว้
15.ดูแลให้ได้รับสานน้ำ สารอาหารอย่างเพียงพอ
ขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ก่อนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วย
ประเมินสาเหตุของโรค ว่าดีขึ้นหรือยัง
มีการแลกเปลี่ยนก๊าซเพียงพอหรือไม่
ความสามารถในการหายใจของผู้ป่วย
ไม่ใช้ยานอนหลับ/ยาคลายกล้ามเนื้อ
รู้สึกตัวดี
spontaneous มากขึ้น 5 cc/kg
ขณะอย่าเครื่องช่วยหายใจ
ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าหลังจากผู้ป่วยพักผ่อนเต็มที่
จัดท่าของผู้ป่วยในท่าหัวสูง/ท่านั่ง หากไม่มีข้อห้าม เพื่อให้กระบังลมหย่อนตัว หายใจได้สะดวก
เริ่มทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจ เพื่อประเมินสภาพผู้ป่วยว่าพร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ปรับ mode การหายใจของผู้ป่วยตามแนวปฏิบัติการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ดูดเสมหะในปากและในท่อช่วยหายใจให้ทางเดินหายใจโล่ง
ประเมินเสียงปอด
บันทึกสัญญาณชีพ เพื่อเฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชม.
บทบาทพยาบาล ICU ในการ wean
สิ่งสำคัญที่ต้องรู้
ผู้ป่วยคนไหนไม่ควร wean
จะ wean อย่างไร, วัด parameter ใดบ้าง
เมื่อไหร่จะหยุด wean
ผู้ป่วยที่ยังไม่ควร wean
vital signs unstable : hypotensions, extreme tachcardia
acute cardiac event : ischemia, arrhythmia
จับผู้ป่วยนั่งตัวตรง, อธิบายขั้นตอน
monitor EKG, HR, O2 saturation
เปลี่ยนเป็น T-piece หรือ CPAP PS 5 cmH2O
วัด RR, tidal volume เป็นระยะจนถึง 15 นาที
ถ้าผู้ป่วยมี agitation, tachycardia, hypoxemia,RR>35
หยุด wean
รายงานให้แพทย์ผู้ดูแลทราบถึงผลการลอง T-piece trial