Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Salphingo-oophorectomy (การพยาบาล (กิจกรรมการพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด…
Salphingo-oophorectomy
การพยาบาล
-
-
-
คำแนะนำเมื่อกลับบ้าน
-
-
-
-
-
6.การผ่าตัดรังไข่ทั้งสองข้าง บางรายอาจมีอาการร้อนวูบวาบ เหงื่อออกมาก ปวดเมื่อยตามตัว ปวดศีรษะ หงุดหงิด ใจสั่นได้ เนื่องจากร่างกายขาดฮอร์โมนเพศหญิง ถ้ามีอาการเหล่านี้สามารถรักษาได้โดยการให้ฮอร์โมนเพศหญิงเข้าไปทดแทน โดยแพทย์จะเป็นผู้ให้คำแนะนำ
พยาธิสภาพ
1.การผ่าตัดออกทางหน้าท้อง
การผ่าตัดมดลูกรวมทั้งอวัยวะที่เกี่ยวข้อง ผ่านหน้าท้อง จะกระทำในรายที่มีพยาธิสภาพเกี่ยวกับ ท่อรังไข่ รังไข่ และพยาธิสภาพอื่นในอุ้งเชิงกรานร่วมด้วย
2.การผ่าตัดออกทางช่องคลอด
การผ่าตัดเอามดลูกออกทางช่องคลอดโดยทั่วไปแล้วจะไม่เอาท่อรังไข่และรังไข่ออกมาด้วยกระทำในกรณีที่มดลูกหย่อน และจะร่วมกับการทำการเย็บซ่อมแซมบริเวณผนังช่องคลอดด้านหน้า และด้านหลังที่หย่อนให้กลับสู่สภาพปกติ
3.การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องทางช้องท้อง
การเจาะช่องท้องเป็นรูเล็กๆ 3-4 รู แล้วใช้เครื่องมือพิเศษเข้าไปตัดมดลูก แล้วเอามดลูกออกทางช่ องคลอดหรือย่อยเอาออกทางรูเล็กๆ วิธีนี้ทำได้แม้มดลูกไม่หย่อน
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัด
1.การผ่าตัดออกทางหน้าท้อง
เหมาะในการผ่าตัดเนื้องอก มดลูกขนาดใหญ่ เมื่อต้องการ ตัดรังไข่ทั้งสองข้างร่วมด้วย รายที่สงสัยมะเร็งหรือมีพังผืดมาก
-
3.การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องทางช้องท้อง
เหมาะในการผ่าตัดเนื้องอก มดลูกขนาดปกติ- ใหญ่ไม่เกิน 14 สัปดาห์และพังผืดไม่มาก
ผลกระทบจากการผ่าตัด
การผ่าตัดทางหน้าท้องอาจทำให้กระทบกระเทือนต่อลำไส้ อาจมีอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ หรือท้องผูกได้ง่าย กว่าการผ่าตัดวิธีอื่น
-
หน้าที่ของรังไข่
รังไข่ (Ovaries)
หน้าที่ สร้างไข่ที่สมบูรณ์ (mature ovum) สร้างฮอร์โมนเพศ ได้แก่ Estrogen Progesterone รวมทั้ง Androgen แต่ในปริมาณที่น้อย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-