Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนา และแนวโน้มวิชาชีพพยาบาล (ด้านสังคม (บริการพยาบาล…
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนา
และแนวโน้มวิชาชีพพยาบาล
ด้านสังคม
บริหารการพยาบาล
2.1 บุคลากร
การกำหนดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาล และบุคลากรเฉพาะทางไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ
การผลิตพยาบาลไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ
เกิดความขัดแย้งของบุคลากรทางการพยาบาล
ขาดบุคลากรทางด้านภาษา
ขาดการคุ้มครองผู้ให้บริการด้านสุขภาพ
2.2 วัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณ
ต้องการใช้วัสดุ อุปกรณ์เพิ่มมากขึ้น ทำให้ภาระค่าใช้จ่ายสูงขึ้น
2.3 การประสานงาน
ขาดการประสานงานระหว่างองค์กรต่าง ๆ ทุกระดับที่ให้การช่วยเหลือ
ขาดการติดตามปัญหาตามสภาพจริงของชุมชน
การศึกษาพยาบาล
3.1 หลักสูตรการศึกษา
มีการจัดหลักสูตรการศึกษาแบบเฉพาะทางไม่เพียง และไม่ครอบคลุมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจของผู้สูงอายุ ด้านชุมชน และด้านการดูแลครอบครัว
กระบวนการเรียนการสอนเน้นการสอนด้านวิชาการมากกว่าด้านทักษะปฏิบัติการ
ขาดอุปกรณ์ที่ทันสมัยในการเรียนการศึกษา
3.2 ความรู้ ทักษะ ในการปฏิบัติการ
ผู้ให้บริการมีประสบการณ์ ความรู้ และทักษะการดูแลผู้สูงอายุ การดูแลครอบครัว และการดูแลชุมชนที่ไม่เพียงพอ
ขาดทักษะ ความรู้ในการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย
ขาดทักษะความรู้ด้านภาษา
3.3 การประยุกต์ใช้ และการผสมผสาน
ชุมชนเมืองเข้าถึงยาก ทำให้ขาดการศึกษาและการเข้าถึงชุมชน
ขาดการต่อยอดและนำภูมิปัญญาท้องถิ่น การใช้สมุนไพรมาใช้ผสมผสาน และขาดการนำภูมิปัญญา ประเพณีท้องถิ่น ได้แก่ มวยไทย มังคละ ฤาษีดัดตน มาประยุกต์ใช้
บริการพยาบาล
1.1 ความต้องการการบริการทางสุขภาพมากขึ้น
การดูแลอย่างต่อ และการบริการสุขภาพเชิงรุก
บุคลากรขาดการคัดกรองโรคติดต่อ และโรคระบาด
ไม่สามารถให้การบริการ และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้
ขาดการให้บริการพยาบาลแบบผสมผสาน
1.2 การเข้าถึงบริการสุขภาพ
ผู้ป่วยต้องการช่องทางในการรับบริการ และบริการที่เฉพาะทางเพิ่มมากขึ้น
ขาดการเข้าถึงบริการที่มีประสิทธิภาพ
เกิดความล่าช้าของการบริการสุขภาพ
1.3 การฟ้องร้อง
เกิดการร้องเรียนในการให้บริการด้านสุขภาพมากขึ้น
ความไม่เข้าใจกันของผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ทำให้เกิดการฟ้องร้อง
1.4 เทคโนโลยี
เทคโนโลยีและอุปกรณ์ในการให้บริการไม่ทันสมัย
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาล
4.1 องค์ความรู้
ขาดนวัตกรรมในการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูในผู้สูงอายุ
ขาดผู้ที่มีองค์ความรู้ในการทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ขาดการนำผลการวิจัยไปรองรับการให้การพยาบาล (Evidence Base)
ขาดการวิจัยเกี่ยวกับการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้
4.2 วิจัย
งานวิจัยเฉพาะทางด้านผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย
ขาดการศึกษาและติดตามงานวิจัยที่เกี่ยวกับครอบครัว เนื่องจากข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
ขาดแหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
รูปแบบงานวิจัยมีไม่หลากหลาย และไม่ครอบคลุม
ความร่วมมือของคนในชุมชนเมืองน้อย เนื่องจากการทำงานและการแข่งขันที่สูง