Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (Humanistic Theory) (การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลจิตเวช,…
ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม
(Humanistic Theory)
ทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์
(Maslow’s Hierarchy of Needs)
นักทฤษฎีที่สำคัญ
อับราฮัม มาสโลว์(Abraham Maslow)
มาสโลว์ อธิบายว่า พฤติกรรมเป็นผลมาจากแรงจูงใจของบุคคลที่จะได้รับการตอบสนองความต้องการพื้นฐานตามลำดับขั้น เมื่อบุคคลไม่ได้รับการสนองตอบตามความต้องการพื้นฐานที่เหมาะสม ย่อมก่อให้เกิดการเสียสมดุลของจิตใจขึ้น หากปรับตัวไม่ได้จะทำให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตตามมา
ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยม
เน้นว่า โดยธรรมชาติมนุษย์เกิดมาดีและพร้อมที่จะทำสิ่งที่ดี ถ้าได้รับการตอบสนองความต้องการให้กับตนเอง
พัฒนาทฤษฎีบุคลิกภาพและแรงจูงใจตามลำดับขั้นตอนความต้องการของมนุษย์
Maslow's Hierarchy of Needs
ขั้นที่ 4
ความต้องการการยอมรับยกย่อง (Acception and Recognition need)
ให้เกิดความรู้สึกมั่นคง ความภาคภูมิใจ ตระหนักถึงความมีคุณค่าในตนเอง
หากไม่ได้รับการ
ตอบสนองความต้องการนี้จะเกิดเป็นปมด้อยและมีความรู้สึกไร้ค่า
ขั้นที่ 5
ความต้องการตระหนักในตนเอง (Self-actualization Need)
ความต้องการของบุคคลในการที่จะเลือก
เส้นทางที่จะเติมเต็มชีวิต และสร้างความผาสุกภายในจิตใจ
ขั้นที่ 3
ความต้องการความรักและเป็นเจ้าของ
(Belonging and love needs)
เพื่อขจัดความรู้สึกโดดเดี่ยว การมีครอบครัว มีบ้าน และการเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม
ขั้นที่ 6
ความต้องการที่จะรู้และเข้าใจ (Desire to know)
เป็นการแสวงหา
ขั้นที่ 2
ความต้องการความปลอดภัย (Safety needs)
การคุ้มครองจากความกลัวและความวิตกกังวล
ขั้นที่ 7
สุนทรียะ (Asthetic Need)
ศักดิ์ศรี มีคุณค่าความเป็นมนุษย์
ขั้นที่1
ความต้องการด้านร่างกาย
(Physiological needs)
ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์
เช่น อาหาร น้ำ อากาศ การนอนหลับพักผ่อน การขับถ่าย
ทฤษฎีการเน้นผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลางของโรเจอร์ส (Client-Centered Theory)
นักทฤษฎีสำคัญ
คาร์ล โรเจอร์ส (Carl Rogers)
มุ่งเน้นศูนย์กลางของการช่วยเหลืออยู่ที่ตัวผู้ป่วยเป็นสำคัญ
เชื่อว่ามนุษย์จะใช้ความสามารถของตนเองที่มีอยู่ในขณะนั้นปรับเปลี่ยนตนเองจากภาวะที่สุขภาพจิตไม่ดีไปสู่ภาวะสุขภาพจิตดี
การบำบัดโดยผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลาง
ใช้หลักการพื้นฐาน 3 ประการ
การยอมรับทางบวกโดยปราศจากเงื่อนไข (Unconditional Positive Regard)
ผู้บำบัดต้องยอมรับในตัวผู้ใช้บริการอย่างที่เขาเป็นอยู่
ความเข้าใจในความรู้สึก (Empathy)
การเข้าใจความรู้สึกของผู้ใช้บริการ
เข้าใจในสิ่งที่อ่อนไหวได้ถูกต้อง
เข้าใจประสบการณ์และความรู้สึกในปัจจุบัน
ความสอดคล้องกลมกลืน (Congruence)
ผู้บำบัดต้องแสดงความจริงใจต่อผู้ใช้บริการโดยการเปิดโอกาสให้เขาได้มีประสบการณ์ตามความเป็นจริงของเขา
การประยุกต์ใช้ในการพยาบาลจิตเวช
สามารถความเข้าใจกับมนุษย์ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเฉพาะตน
เปิดโอกาสให้ผู้ใช้บริการตัดสินใจเลือกวิธีการแก้ไขปัญหาของตนเอง โดยพยาบาลเป็นผู้ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง คอยสนับสนุน และให้กำลังใจ
สามารถใช้ในบทบาทของพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชทั้ง 4 มิติ
การป้องกันการเกิดปัญหาทางจิต
การบำบัดทางจิต
การส่งเสริมสุขภาพ
การฟื้นฟูสภาพจิต
ทฤษฎีมนุษยนิยมนี้มีความเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีความสามารถมีศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองไปในทางที่ดี มีความต้องการพื้นฐานที่ต้องการการตอบสนอง มนุษย์จะควบคุมตนเองและตัดสินใจได้
ด้วยตนเอง