Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 (7.1) การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล (2.แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ (2)…
บทที่ 7 (7.1) การบริหารคุณภาพทางการพยาบาล
ความหมาย
การบริการด้านการพยาบาลที่มีคุณภาพ ตรงตามความต้องการ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ
2.แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ
3) ครอสบี (Crosby)
ขั้นตอนดำเนินงาน 14 ขั้นตอน และต้องไม่ผิดผลาดหรือถูกต้องตั้งแต่เริ่ม
4) การพัฒนาคุณภาพที่ยั่งยืน
*
(Continuous quality improvement/CQI)
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ + ความคิด + การเรียนรู้ ปรับปรุงอย่างเป็นระบบ เพื่อตอบสนองความต้องการโดยไม่หยุดยั้งและมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
2) จูแรน (Juran)
ปรับปรุงคุณภาพ (Quality Improvement)
ควบคุมคุณภาพ (Quality Control)
กำหนดเป้าหมายคุณภาพ/วางแผนคุณภาพ (Quality Planning)
5) คุณภาพบริการพยาบาลยุคใหม่
เพิ่มความสามารถตามความต้องการสูงสุด ลดผลสิ่งที่ไม่ต้องการให้ต่ำสุด
1) เดมมิ่ง (Deming)
ใช้วงจรเดมมิ่ง/PDCA Deming cycle
มาตรฐานการพยาบาล
1) ความหมาย
ข้อความอธิบายการปฏิบัติการพยาบาลที่สามารถวัดได้ และเป็นแนวทางในการประเมินรายบุคคล+กลุ่ม
2) ความสำคัญ
เครื่องมือ + แนวทางประกันคุณภาพ
เครื่องมือในการนิเทศ + ประเมินผลการพยาบาล
จัดระบบการพยาบาลตามนโยบาย
ใช้เป็นตัวแปรในการวิจัย เพื่อปรับปรุงคุณภาพ
เป็นเป้าหมาย + แนวทางการปฏิบัติ
3) ระดับของมาตรฐานการพยาบาล
มาตรฐานการดูแล (Standards of care)
เน้นที่ผู้ป่วย ผลลัพธ์ที่ผู้ป่วยคาดหวังตั้งแต่การวินิจฉัยและกระบานการพยาบาล
มาตรฐานการปฏิบัติตามวิชาชีพ (Standards of professional performance)
องค์กรสร้างขึ้น เน้นพยาบาล คุณภาพการดูแล การประเมินผล การพัฒนา การให้สุขศึกษา จริยธรรม การประสานงาน
มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล (Standards of nursing practice)
เน้นที่พยาบาลใช้ในการปฏิบัติดูแลผู้ป่วยโรคต่างๆ ใช้ความรู้เชิงวิชาชีพ (ต้องมีความรู้)
4) รูปแบบของมาตรฐานการพยาบาล
มาตรฐานเชิงกระบวนการ
กิจกรรมการพยาบาลทุกอย่างในการปฏิบัติการพยาบาล
มาตรฐานเชิงผลลัพธ์
การเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพผู้ป่วยหลังให้การพยาบาล + ความพึงพอใจของผู้ป่วย
มาตรฐานเชิงโครงสร้าง
การกำหนดลักษณะของระบบบริการและระบบบริการพยาบาล (กำหนดภารกิจ ปรัชญา และเป้าหมาย)
5) มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามสภาการพยาบาล (2544)
ข้อที่ 1 มาตรฐานการพยาบาลและผดุงครรภ์
ข้อที่ 2 มาตรฐานการบริหารองค์การพยาบาล
ข้อที่ 3 มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาล
มฐ.2 การรักษาสิทธิผู้ป่วย จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
มฐ.3 การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาล
มฐ.1 การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาล
มฐ.4 การจัดการดูแลต่อเนื่อง
มฐ.5 การบันทึกและรายงาน
การประกันคุณภาพการพยาบาล (Quality assurance/QA)
1) ความหมาย
การกระทำ เพื่อให้การปฏิบัติการพยาบาลสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการตามมาตรฐานวิชาชีพสม่ำเสมอ เป็นระบบ ต่อเนื่อง
2) วัตถุประสงค์
ให้การปฏิบัติการพยาบาลเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น
3) แนวคิด
ยุคเดิม
พยาบาลกำหนดเกณฑ์ตามความคิดเห็น ความเชื่อ (พัฒนามาตรฐาน + ตรวจสอบรวบรวมข้อมูล + รายงานผลการตรวจสอบ)
ค.ศ.1952 - 1992
การพัฒนาการพยาบาล + การประเมินคุณภาพ แต่เฉพาะเรื่อง
เน้นที่ประบวนการ
การประเมินคุณภาพและนำผลมาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (แก้ทั้งระบบ)
4) ระบบประกันคุณภาพ
ระบบรวมศูนย์ (Centralized systems)
กำหนด QA โดยมีหน่วยกลางเป็นผู้รับผิดชอบ
ระบบกระจายอำนาจ (Decentralized system)
กำหนดมาตรฐานตามความสามารถที่สามารถปฏิบัติได้จริง และกระจายให้หน่วยงานได้ตัดสินใจกำหนดเกณฑ์ที่ยอมรับของหน่วยงาน
5) รูปแบบการประกันคุณภาพ
WHO (1995)
สร้างเครื่องมือบ่งชี้คุณภาพ + เครื่องมือวัดคุณภาพ + ประเมินค่าการวัด + ปรับปรุงคุณภาพ
ANA
สร้างความรู้สึกต่อคุณภาพ + กำหนดมาตรฐานและเกณฑ์ + เครื่องมือวัดคุณภาพ + รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล + หาทางปรับปรุง + เลือก + นำมาปฏิบัติ
โรแลนด์
กำหนดวัตถุประสงค์ + ออกแบบ QA + เตรียมข้อมูล + เปรียบเทียบ + นำแนวคิดมาปรับปรุง + กรณีไม่สอดคล้องวัตถุประงสงค์ต้องปรับให้วัดได้
JCAHO
มอบหมาย + เขียนขอบเขต + ระบุจุดสำคัญ + ตัวบ่งชี้ที่ใช้วัดจุดสำคัญ + กำหนดระดับการรับรอง + รวบรวมและจัดข้อมูล + วิเคราะห์แปลผล + ปฏิบัติ + ประเมินผล + รายงาน