Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มและพัฒนาการวิชาชีพพยาบาล (ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ…
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มและพัฒนาการวิชาชีพพยาบาล
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลักษณะ
VUCA World
ความผันผวน (Volatility)
ความไม่แน่นอน (Uncertainty)
ความสลับซับซ้อน (Complexity)
ความคลุมเครือ (Ambiguity)
มีการเปลี่ยนแนวคิดจากแก้ปัญหาและวางแผนเพื่อลดความไม่แน่นอน" ไปสู่ “การขับเคลื่อนอย่างรวดเร็ว
การพัฒนาของเทคโนโลยี
ธุรกิจเช่น ใช้ในการจัดกำลังคนจากbig data
การสื่อสารเช่น email fax
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
สุขภาพจัดการข้อมูลด้านสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยโรค
คุณลักษณะยุคดิจิทัล
ไม่มีขอบเขต ความรวดเร็วในการสื่อสารและบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายต่าง ๆ
คุณลักษณะของมนุษย์ในยุคดิจิตัล
มนุษย์สามารถทำงานให้มีประสิทธิภาพมากกว่าในอดีต
ะมีบทบาทคือเป็น “ผู้ควบคุมดิจิทัล”
งานจะวิ่งเข้าหาผู้มนุษย์
นต้องมีการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ
Disruption world การปฏิรูปหรือเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
Disruptive technology เป็นการคิดค้นเทคโนโลยีโดยอาศัยความต้องการทางสังคมและ
เศรษฐกิจเป็นตัวขับเคลื่อน
ผลกระทบ
การบริการ
การจัดทำเวชระเบียนประวัติผู้ป่วยใช้ติดต่อคนไข้ระยะไกล
ประชาชนสามารถหาความรู้ด้านสุขภาพจากสื่อออนไลน์
อาจมีเทคโนโลยีการฝังตัว (Implantable technologies)หรือมีอินเทอร์เน็ตที่สวมใส่ได้ (Wearable Internet)
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และการตัดสินใจ (AI and Decision-Making)
หุ่นยนต์ (Robotics and Services) มาทดแทนกำลังคนเ
การบริหาร
คน (Man)
การจัดการบริหารบุคลากร
ใช้จัดตารางเวรในแต่ละเวร
เงิน (Money)
บริหารจัดการเงินภายใน
วัสดุสิ่งของ (Material)
บันทึกเลขทะเบียนของวัสดุแต่ละชิ้น
วันหมดอายุ วันส่งซ้อมของสิ่งของภายในหอผู้ป่วย
บริหารจัดการ(Management)
ใช้ DASH Board พิจารณาภาระงานของพยาบาล
การศึกษา
ทุกคนควรมีทักษะดิจิทัลหรือ Digital Literacy
รูปแบบการศึกษาแบบการเป็นหุ้นส่วนในการเรียนรู้ (Partnering)
เนื้อหาเน้นผู้เรียนปฎิบัติจริง
ทักษะชีวิตในการร่วมงานกับคนอื่น
รักในการเรียนรู้
ใช้เทคโนโลยีในการศึกษาหาความรู้
การเรียนรู้ในศตวรรษ ที่ 21นักศึกษาควรมีทักษะดังนี้
ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะชีวิตและอาชีพ
ทักษะสารสนเทศ
การวิจัย
บทบาทผู้วิจัยในยุคไทยแลนด์ 4.0มีการใช้เทคโนโลยีในการดูแลสุขภาพ
คัดเลือกวิธีการปฏิบัติทางการพยาบาลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ใช้อินเทอร์เน็ตในการหาข้อมูล
แนวโน้มและแนวทางการพัฒนา
พัฒนาศักยภาพของพยาบาลในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
พัฒนาสมรรถนะความเป็นผู้นำด้านการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
พัฒนาโดยการเพิ่มทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy
พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีของพยาบาลรุ่นเก่าในการสืบค้นข้อมูลวิจัย
ด้านสังคม
ลักษณะ
เป็นสังคมผู้สูงอายุ
ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
(Aging society) ประเทศไทย
ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์
(Aged society)
ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่
(Super-aged society)
Generation
Silent generation
Baby Boomer
Generation X
Generation Z
Generation Y
Generation Alpha
Generation C
ครอบครัว
เป็นครอบครัวเดี่ยว มีสามีภรรยาไม่มีลูก
สังคม
ยุค Thailand 1.0คือ ยุคของเกษตรกรรม
ยุค Thailand 2.0 คือ ยุคอุตสาหกรรมเบา
ยุค Thailand 3.0คือ ยุคอุตสำหกรรมหนัก
ยุค Thailand 4.0คือการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยดีิจิทัล
อื่นๆ วัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลง เช่นจากการย้ายถิ่นฐาน เศรษฐกิจ อาการจากปลูกเองก็รับประทานอาหารfast food ความเชื่อจากเชื่อภูติผีก็มาเชื่อวิทยาศาสตร์เป็นต้น
ผลกระทบ
การบริการ
ผู้สูงอายุมากขึ้นโรคเรื้อรังเพิ่มการบริการไม่เพียงพอ
ทัศนคติไม่ตรงกันจากความแตกต่างระหว่างวัย
การบริหาร
จัดอัตรากำลังพยาบาลเฉพาะทาง
เกิดการลาออกของพยาบาลจากการขัดเเย้งในองค์กร
เกิดการฟ้องร้อง
ผู้รับบริการไม่มั่นใจในการพยาบาล
การศึกษา
ผู้รับบริการไม่เชื่อมั่นในนักศึกษาพยาบาล
สอนให้ผู้สูงอายุนำความรู้ไปใช้ได้จริง
หลักสูตรเฉพาะทางผู้สูงอายุมีน้อย
ปัญหาการสื่อสารจากการเปิด AEC
การวิจัย
วิจัยการดูแลผู้สูงอายุมีน้อย
เน้นวิชาการมากว่าปฎิบัติได้จริง
แนวโน้มและแนวทางการพัฒนา
home health care
ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
ระบบการแพทย์ทางไกล การส่งต่อ
ส่งเสริมHealth literacy และ Health education
สร้างความเชื่อมั่น
ด้านการศึกษา
ลักษณะ
ปัญหาและสถานการณ์ทางด้านการศึกษาในไทย
มีความเหลื้อมล้ำ
คุณภาพการศึกษาไม่มีประสิทธิภาพขาดทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
กระบวนการเรียนการสอนไม่มีความหลากหลาย
ผลกระทบ
การบริการ
ศักยภาพการคัดกรองข้อมูลของประชาชนลดลง
เกิดโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น
ควรทำให้ประชาชนมี(Health Literacy)จากการให้คำแนะนำและควรใช้สื่อให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
การบริหาร
ส่งทีมให้มีการศึกษาเฉพาะทางมากขึ้น
ผู้บริหารปรับทัศนคติให้มีการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
การศึกษา
มีการสอนด้านภาษาอังกฤตเพิ่มขึ้น
เรียนแบบactive learning
การเพิ่มของมาตรฐานผลลัพธ์ของผู้เรียนจาก TQF มาเป็น DOEวัดมาตรฐานผู้เรียนทั้ง 3 ด้าน คือ 1.มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2.เป็นผู้คิดสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ 3.เป็นพลเมืองที่กล้าหาญทางจริยธรรม
การวิจัย
มีการคิดค้นนวัตกรรมใหม่เพิ่มขึ้นและยังขาดหลักฐานเชิงประจักษ์ในการนำวิจัยมาใช้
แนวโน้มและแนวทางการพัฒนา
ให้ประชาชนมีความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ
มีสื่อที่หลากหลายให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
เรียนรู้ด้วยตนเองด้านภาษาและการสื่อสาร
ผู้บริหารควรปรับเปลี่ยนและพัฒนาทางการบริหารจากควบคุมอำนาจมาเป็นที่ปรึกษา ใช้ทักษะการบริหารแบบมีส่วนร่วม และพัฒนาทีมงาน
เน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรมและวิจัยเพิ่มขีดความสามาถในการเข่งขัน มีหลักฐานเชิงประจักษ์
ด้านเศรษฐกิจ
ลักษณะ
เศรษฐกิจ:กิจกรรมความสัมพันธ์ระหว่างคนในด้านการผลิตและการบริการ
ระบบเศรษฐกิจ:กลุ่มบุคคลรวมตัวกันในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน ประกอบด้วยความต้องการซื้อหรืออุปสงค์(demand)ความต้องการขาย(Supply)
เชื่อมโยงกับภาวะเศรษฐกิจ
เงินเฟ้อ อุปสงค์มากกว่าอุปทาน
เงินฝืด:อุปทานมากว่าอุปสงค์
ระบบเศรษฐกิจ
ทุนนิยม
สังคมนิยม
คอมมิวนิสต์
ผสม*ประเทศไทยใช้ระบบนี้
เศรษฐกิจจุลภาค พฤติกรรมผู้บริโภคเป็นราย เช่นรายได้ครัวเรือน
เศรษฐกิจมหภาค โดยรวมเป็นระบบ ทั้งประเทศ หรือGPD
แนวโน้มเศรษฐกิจเจริญเติบโตแต่ชะลอตัวลง จากอุปสงค์ต่างประเทศ
ผลกระทบ
การบริการ
ไม่มีการบรรจุข้าราชการ สวัสดิการน้อย
ขาดแคลนพยาบาล
นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์
สุขภาพของผู้รับบริการ
การบริหาร
คน:พยาบาลย้ายไปทำงานเอกชน
เงิน:ใช้งบในการดูแลสุขภาพมากขึ้น
วัสดุ:ใช้วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ราคาสูง
การจัดการ:มีงบประมาณมากขึ้นในแผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่12
การศึกษา
จูงใจให้เรียนสร้างความตะหนักในวิชาชีพ ลดภาระงานโดยอบรมหลักสูตร
การวิจัย
ด้านงบประมาณมีปัญหาน้อย ภาระงานพยาบาลเพิ่มทำให้เวลาในการพัฒนาตนเองน้อย
แนวโน้มและแนวทางการพัฒนา
บริการเชิงรุก
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เพิ่มสวัสดิการให้พยาบาล
ใช้med hubแก้ไข
ใช้เทคโนโลยีในการทำวิจัยลดต้นทุน
ด้านการเมือง
ลักษณะ
“การเมือง” (politic) เป็นกระบวนการ
การใชอำนาจหน้าที่ แสวงหาความยุติธรรม
องค์ประกอบการพัฒนาทางการเมือง
ความเสมอภาค (Equality
ความสามารถของระบบการเมือง (Capacity)
การแบ่งโครงสรา้งทางการเมืองใหม่ความแตกต่าง
และมีความชำนนาญเฉพาะ (Differentiation and Specialization)
การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผล (Secularization of
Political Culture)
ความเป็นอิสระของระบบย่อย (Subsystem Autonomy)
แนวโน้มและแนวทางการพัฒนา
การบริการ
คุณภาพในการให้บริการด้านสุขภาพดีขึ้น ประชาชนเข้าถึงได้สะดวกรวดเร็ว
การบริหาร
ประสานงานระหว่างสถานบริการหลายระดับเพิ่มความรู้เฉพาะทาง
การศึกษา
การปฎิบัติการพยาบาลมีคุณภาพและมีมาตราฐานมากขึ้น เพิ่มทรัพยากรบุคคล
การวิจัย
พัฒนาการสร้างนวัตกรรมขยายตัวเพิ่มมากขึ้น
ผลกระทบ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพศ 2560
พรบ สุขภาพแห่งชาติ พศ 255
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข พศ2562
ระบบหลักประกันสุขภาพ พศ2562
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ20ปี
วิสัยทัศน์เชิงนโยบายThailand4.0
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด