Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัย …
ปัจจัย ที่มีผลต่อการพัฒนาการและแนวโน้มวิชาชีพพยาบาล
(นายจีระศักดิ์ ปั้นแจ่ม 590301018
SEC A)
ปัจจัย
1.ปัจจัยด้านการเมือง
ลักษณะ
-มีการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการแพทย์
-ใช้กำลังคนน้อยลงและงานสำเร็จเร็วขึ้น
-จัดสรรพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีด้านการแพทย์โดยเฉพาะ
แนวโน้ม
มีการพัฒนาเทคโนโลยีด้านการแพทย์ เช่น พัฒนาเทคโนโลยีสุขภาพ เทคโนโลยีการแพทย์ สปา เป็นต้น เพื่อให้ระบบการพยาบาลมีการบริการที่รวดเร็วและทันสมัยมากขึ้น
ใช้กำลังคนน้อยลงและงานสำเร็จเร็วขึ้นหรือจัดสรรพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีด้านการแพทย์โดยเฉพาะ
สอนเรื่องเทคนิคทางการพยาบาลและการคำนึงถึงความปลอดภัยต่อผู้รับบริการเป็นสำคัญ
พยาบาลต้องมีความรู้และทักษะเรื่องการใช้เทคโนโลยี
ปัจจัยด้านการศึกษา
ลักษณะ
ทักษะภาษาอังกฤษต่ำ
วิจัยและณวัฒกรรมน้อย
การเข้าถึงการศึกษาไม่ทั่วถึง
ทรัพยากรทางการศึกษากระจายไม่เท่าเทียม
เน้นฟังเป็นผู้รับ ไม่ค่อยเรียนรู้ด้วยตนเอง
แนวโน้ม
เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ใช้เทคโนโลยีในการศึกษามากขึ้น
เพิ่มทักษะภาษาต่างประเทศ
ทำวิจัยและนวัฒกรรมมากขึ้น
3.ปัจจัยด้านสังคม
ลักษณะ
.
โรคเรื้อรัง ส่งผลให้อัตราการพึ่งพิง อัตราความพิการสูงขึ้น และจากภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ทำให้ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองไม่ได้เป็นผู้ป่วยติดเตียง
เป็นสังคมผู้สูงอายุ และครอบครัวรับภาระค่าใช้จ่ายสูงขึ้น
จากสังคมเกษตรกรรม เป็นสังคมอุตสาหกรรมมากขึ้น
สังคมประสบปัญหาขาดแคลนวัยแรงงาน
แนวโน้ม
• สิ่งแวดล้อมถูกทำลาย เกิดมลพิษและมลภาวะมากขึ้น
• เกิดความเลื่อมล้ำทางสังคม มีการแบ่งชนชั้นระหว่างคนรวย คนจน และเกิดการฟ้องร้องมากขึ้น
• วัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลง ทำให้พฤติกรรมการรับประทานอาหาร และการออกกำลังกายเปลี่ยนไป
• สังคมมีการแข่งขันสูงขึ้น ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต และสุขภาพของคนในชุมชนเสื่อมโทรม
• ประชาการแออัด ทำให้เกิดโรคติดต่อ และปัญหาอาชญากรรมเพิ่มขึ้น
• อุบัติเหตุเพิ่มมากขึ้น จากการคมนาคมที่แออัด
• ประชาชนมีส่วนร่วมในสังคมน้อยลง
• เป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์
4.ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ลักษณะ
.
.
แนวโน้มการขยายตัวในเกณฑ์ดีของอุปสงค์ภายในประเทศ
แนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นอย่างช้า ๆ ของการส่งออกในช่วงครึ่งปีหลัง
การดำเนินมาตรการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภาครัฐ
แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2562 คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 2.7 - 3.2 โดยมีแรงสนับสนุนสำคัญ
แบ่งเป็น จุลภาค กับ มหภาค
แนวโน้ม
นโยบายของรัฐเน้น Thailand 4.0 และจากแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 12 เน้นเรื่องวิจัยและนวัตกรรม
ประเทศไทยเข้าสู่ AEC ที่สามารถเคลื่อนย้ายแรงงานได้
ผลักดันให้ไทยเป็น Medical HUB ซึ่งทำให้เกิดการแข่งขันด้านบริการสุขภาพที่รุนแรง
พยาบาลจึงต้องทำงานวิจัยทางด้านการพยาบาล และการได้รับงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐเพิ่มมากขึ้น
งานวิจัยและนวัตกรรมที่สามารถแก้ปัญหาสุขภาพได้จริง จะช่วยลดค่าใช้จ่ายในด้านต่างๆได้
เศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น
5.ปัจจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลักษณะ
เทคโนโลยีพัฒนารวดเร็ว
ใช้ในการให้บริการสุขภาพมากขึ้น
ใช้งานยาก
ต้องใช้งบประมาณในการสร้างสูง
.
คุณลักษณะยุคดิจิทัลที่สำคัญมี 3 ประการคือ
ความรวดเร็วในการสื่อสาร
การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ไม่มีขอบเขตหรือข้อจำกัดในเรื่องเวลาหรือสถานที่
การใช้เทคโนโลยีมาบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายต่าง ๆ
แนวโน้ม
ใช้เทคโนโลยีในงานพยาบาลและการแพทย์มากขึ้น
แรงงานคนอาจลดลงในบางหน้าที่
สามารถวัดคุณภาพงานได้ ตรวจสอบได้ง่ายขึ้น
การใช้กระดาษในอนาคตจะไม่ใช้
พยาบาลต้องเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น
ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่ายขึ้น
ลดการรอคอยใน รพ.ได้
ผลกระทบ
1.ผลกระทบต่อบริการพยาบาล
สนับสนุนการเป็น Medical Hub ของประเทศ ให้มีจำนวนพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญ การพยาบาลเฉพาะทางที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ
ส่งเสริมให้หน่วยงาน / องค์กร ให้ได้รับการพัฒนา รับรองคุณภาพตามมาตรฐาน
ส่งเสริมให้มีการพัฒนาพยาบาลและ บุคลากรอื่นให้มีความสามารถด้านการสื่อสารโดยเฉพาะภาษาอังกฤษ
.
เทคโนโลยีการบริหารคนหรือเเรงงาน เช่นช่วยในการจัดอัตรากำลังคน การจัดตารางเวร
ค่าตอบแทนของบุคลากรสาธารณสุขโดยการใช้โปรแกรม Pay-for-Performance (P4P) หรือโปรแกรมทดลองจ่ายค่าตอบแทนตามผลการ
.เทคโนโลยีบริหาร อุปกรณ์และ โดยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์(e-Market) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า คุ้มทุน
เทคโนโลยีการจัดการ (Management) ได้แก่ การบันทึกทางการพยาบาลแบบอิเล็กทรอนิกส์ การจัดฐานข้อมูล ช่วยลดค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลลดการใช้กระดาษ
-ภาระงานของพยาบาลเพิ่มมากขึ้น
-ขาดอัตรากำลังเนื่องจากพยาบาลลาออก
2.ผลกระทบต่อการศึกษาพยาบาล
.
ยึดหลักการ “สอนให้ น้อยลง แต่ให้เรียนรู้ให้มากขึ้น (Teach less, Learn more)”
รูปแบบหรือวิธีการที่หลากหลาย
การเรียนรู้จาก สถานการณ์จริง
การส่งเสริมให้ใช้การสร้างแรงจูงใจภายในเพื่อ ให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีมากขึ้น
การเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย การเรียน รู้โดยการปฏิบัติ
เน้นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
เร่งผลิตนักศึกษามากขึ้น เร็วขึ้น
3.ผลกระทบต่อการบริหารการพยาบาล
.
.
จำกัดลดลง ในส่วนของภาครัฐนอกจากรายได้ลดลงและ
งบประมาณลดลง ทำให้มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ ซึ่งปัญหา
ด้านเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อการบริหาร คือ พยาบาล
ขาดแคลน มีอัตราการคงอยู่ของพยาบาลลดลง
คนน้อย งานมาก ต้องบริหารให้ได้
4.ผลกระทบต่อการวิจัยและองค์ความรู้ทางการพยาบาล
นวัตกรรมในการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูยังน้อย ต้องทำเพิ่ม
ขาดการนำผลการวิจัยไปรองรับการให้การพยาบาล (Evidence Base)
การวิจัยเกี่ยวกับการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นต่าง ๆ ยังน้อย
ต้องใช้งบประมาณในการทำวิจัย
เพิ่มภาระงานเจ้าหน้าที่
แนวทางการพัฒนา
บริการ
จัดการให้บริการข้ามวัฒนธรรม
ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ การคัดกรองโรคมากกว่าการรักษา
มีการส่งต่อ ประสานงานร่วมกับทีมสหวิชาชีพ ติดตามผู้ป่วยระยะยาว ตั้งแต่นอนโรงพยาบาลจนถึงการส่งต่อผู้ป่วยกลับไปอยู่ในชุมชน
การให้การพยาบาลครอบคลุมทั้ง 4 มิติอย่างต่อเนื่อง และเคร่งครัด
บริหาร
วางแผนจัดสรรกำลังคนให้เหมาะสมกับงาน
สร้างแรงจูงใจแก่พยาบาล เช่น สวัสดิการ ค่าตอบแทน
เพิ่มทักษะของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้มากขึ้น
เน้นการบริหารแบบมีส่วนร่วมให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วม ร่วมประชุมหาแนวทางการปฏิบัติงานร่วมกัน
สนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีทักษะทางด้านภาษา
พัฒนาระบบการแปลภาษาในการให้บริการ
เน้นการให้บริการร่วมกันของชุมชน เพื่อดูแลชุมชน โดยการให้บริการแบบ Home ward เพื่อลดภาระการเข้ารับบริการในโรงพยาบาล
มีการส่งต่อ ประสานงานร่วมกับองค์กรภายนอก
การศึกษา
ปรับหลักสูตรการศึกษา เพิ่มทักษะทางภาษา ให้มากขึ้น เน้นการปฏิบัติให้เพิ่มมากขึ้น เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักในการสอน
ในแต่ละรายวิชาเน้นการเรียนการสอนการให้บริการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม โดยประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการดูแลผู้ป่วย
ปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอน เน้นการเรียนรู้ปฏิบัติจากสถานการณ์จริง และสถานการณ์จำลอง (Simulation)
เน้นการใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนมากขึ้น
ฝึกฝนการใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ให้กับพยาบาล ให้มีความรู้ และสามารถใช้อุปกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อบรมเฉพาะทาง
วิจัย
การวิจัยด้านการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพ
พัฒนาโครงร่างวิจัยให้มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ได้จริงเพื่อหาแหล่งสนับสนุนทางการวิจัย
พัฒนาฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
งานวิจัยควรเป็นการวิจัยที่ผสมผสานกับการทำงานและการวิจัยไปด้วยกัน เรียกว่า R2R และ R and D
งานวิจัยต้องมีเนื้อหาเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับบริการ เพื่อลดความขัดแย้งในการรับบริการ
การวิจัยโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ โรคที่เกิดจากการทำงาน โรคระบาด โดยการร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน