Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาและแนวโน้มวิชาชีพพยาบาล (ปัจจัยด้านการเมือง…
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาและแนวโน้มวิชาชีพพยาบาล
ปัจจัยด้านการเมือง
แนวโน้มการพัฒนาของวิชาชีพพยาบาล
ด้านการบริการพยาบาล
คุณภาพในการให้การบริการด้านสุขภาพดีขึ้น
ด้านการศึกษา
การปฏิบัติการพยาบาลมีคุณภาพและมีมาตรฐานมากขึ้น
ด้านการบริหารพยาบาล
พยาบาลต้องประสานการดูแลระหว่างสถานบริการ สุขภาพ หลากหลายระดับ และเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพ
ด้านวิจัยรู้ทางการพยาบาล
มีงานวิจัยและพัฒนาการสร้างนวัตกรรมขยายตัว
แนวทางพัฒนาการของวิชาชีพพยาบาล
ด้านการศึกษาการพยาบาล
ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ครอบคลุม
ด้านวิจัยทางการพยาบาล
วิจัยการสร้างเสริมสุขภาพแก่ประชาชน
ด้านการบริหารการพยาบาล
กระจายกำลังคนบุคลากรไปยังทุกพื้นที่
ด้านบริการการพยาบาล
ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสุขภาพที่ถูกต้อง สามารถดูแลตนเองได้
“การเมือง” (politic) เป็นกระบวนการ การใช้อำนาจหน้าที่แสวงหาความยุติธรรม เพื่อกำหนดแนว ทางหรือข้อปฏิบัติที่มีลักษณะเป็นสาธารณะ ให้ทุกคนมีการดำรงชีวิตที่ดีในสังคม
ผลกระทบ
วิสัยทัศน์เชิงนโยบาย Thailand 4.0
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562 ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการตรวจสุขภาพและประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว ปี 2562
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2560
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
ปัจจัยด้านการศึกษา
แนวทางพัฒนาการของวิชาชีพพยาบาล
ด้านการศึกษาพยาบาล
กิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริมภาษาอังกฤษ
ปรับการเรียนการสอนให้ครอบคลุมผลลัพธ์ 3 ด้านของผู้เรียน
ด้านการบริหารการพยาบาล
ส่งเสริมให้มีการศึกษาอย่างต่อเนื่องของผู้บริหาร
ควรมีการจับคู่trainระหว่างพยาบาลจบใหม่กับพยาบาลที่มีประสบการณ์การทำงาน
ด้านบริการการพยาบาล
ปรับเปลี่ยนการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโดยการให้ครอบครัวมีส่วนร่วม
การให้ความรู้โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
จัดอบรม ทบทวน และสอบวัดผลภาษาอังกฤษของพยาบาล
ด้านวิจัยทางการพยาบาล
พัฒนานวัตกรรมที่มีคุณภาพและประสบความสำเร็จในการดำเนินการดำเนินการวิจัยขณะปฏิบัติงานประจำหรือที่รู้จักกันว่า Routine to Research (R to R)
ส่งเสริมการนำหลักฐานเชิงประจักษ์มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น
ผลกระทบ
ด้านบริการการพยาบาล
ศักยภาพในการรับรู้ของประชาชนไม่มีประสิทธิภาพ
การบริการไม่ตรงจุดกับความต้องการ
การสื่อสารกับผู้รับบริการต่างชาติไม่มีประสิทธิภาพ
ศักยภาพในการรับข้อมูลไม่เท่าเทียมกัน
ด้านการบริหารการพยาบาล
โอกาสการพัฒนาการเข้าถึงผู้บริหารง่ายขึ้น
เกิดช่องว่างในการบริหาร พยาบาลยุคใหม่มีศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีแต่กลับมีโลกส่วนตัวสูง
ด้านการศึกษาพยาบาล
ความไม่กล้าหาญทางจริยธรรม
การศึกษาเน้นการท่องจำ เนื้อหา นักศึกษาวิเคราะห์ไม่เป็น
ด้านวิจัยทางการพยาบาล
ปัจจุบันมีนวัตกรรมด้านการพยาบาลมากมายแต่ใช้ประโยชน์ได้จริงมีน้อย
ปัญหาและสถานการณ์การศึกษาในประเทศไทย
ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
ประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
คุณภาพการศึกษาต่ำ
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
ผลกระทบ
ด้านการบริการทางการพยาบาล
อุปกรณ์ที่ใช้งานไม่สามารถให้บริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประสบปัญหาการเข้าถึงของข้อมูล และการใช้งานมีความผิดพลาด
รุกล้ำความเป็นส่วนตัว
ด้านการวิจัยทางการพยาบาล
การ “ลอก” ข้อความจากงานของผู้อื่นมา “วาง”
ไว้ใน งานของตัวเองทำได้อย่างง่าย
ด้านบริหารทางการพยาบาล
เจ้าหน้าที่บางคนไม่มีความเชี่ยวชาญ
ไม่สามารถจัดอัตรากำลังของพยาบาลวิชาชีพครบทั้งกระบวนการ
ด้านการศึกษาทางการพยาบาล
เน้นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
ยึดหลักการ “สอนให้ น้อยลง แต่ให้เรียนรู้ให้มากขึ้น (Teach less, Learn more)” โดยรูปแบบหรือวิธีการที่หลากหลาย
ลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ไม่มีขอบเขตหรือข้อจำกัดในเรื่องเวลาหรือสถานที่
การใช้เทคโนโลยีมาบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ
ความรวดเร็วในการสื่อสาร
แนวทางการพัฒนาและแนวโน้ม
ด้านการบริหารทางการพยาบาล
เทคโนโลยีการจัดการ (Management) ได้แก่ การบันทึกทางการพยาบาลแบบอิเล็กทรอนิกส์ การจัดฐานข้อมูล ช่วยลดค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลลดการใช้กระดาษ
เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า คุ้มทุน
ด้านการศึกษาทางการพยาบาล
จัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติเน้นการฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริงนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาประยุกต์ในการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันเป็นการเรียนรู้ในยุคดิจิตอล
ด้านบริการการพยาบาล
ด้านบริการการพยาบาล
เพิ่มประสิทธิภาพ ช่วยประกอบการตัดสินใจที่ซับซ้อน
ด้านการวิจัยทางการพยาบาล
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลด้านการพยาบาลเพิ่มมากขึ้น
นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในระบบการปรึกษา
ปัจจัยด้านสังคม
แนวทางการพัฒนาและแนวโน้ม
ด้านการบริหารทางการพยาบาล
การกำหนดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาล และบุคลากรเฉพาะทางไม่เพียงพอ
การผลิตพยาบาลไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ
ด้านการศึกษาทางการพยาบาล
มีการจัดหลักสูตรการศึกษาแบบเฉพาะทางไม่เพียง
ขาดทักษะ ความรู้ในการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย
ด้านการบริการทางการพยาบาล
ความต้องการการบริการทางสุขภาพมากขึ้น
เกิดความล่าช้าของการบริการสุขภาพ
ด้านการวิจัยทางการพยาบาล
ขาดนวัตกรรมในการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูในผู้สูงอายุ
ขาดแหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
ขาดการศึกษาและติดตามงานวิจัยที่เกี่ยวกับครอบครัว เนื่องจากข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
ผลกระทบ
ด้านการวิจัยทางการพยาบาล
เน้นการวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ในเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
พัฒนาโครงร่างวิจัยให้มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้ได้จริง
ด้านการศึกษาทางการพยาบาล
ฝึกฝนการใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ให้กับพยาบาล
ปรับหลักสูตรการศึกษาให้มีเนื้อหาในการดูแลผู้สูงอายุ
ครอบครัว ชุมชน จิตเวช
ด้านการบริหารทางการพยาบาล
วางแผนจัดสรรกำลังคนให้เหมาะสมกับงาน
สร้างแรงจูงใจแก่พยาบาล เช่น สวัสดิการ ค่าตอบแทน
มีการส่งต่อ ประสานงานร่วมกับองค์กรภายนอก
ด้านการบริการทางการพยาบาล
การจัดให้มีการให้บริการด้านการพยาบาลที่เฉพาะ ความต้องการ
การให้การพยาบาลครอบคลุมทั้ง 4 มิติอย่างต่อเนื่อง และเคร่งครัด
ประเทศไทยนั้นได้ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งทำให้เกิดผลกระทบตามมา
รัฐบาลขาดนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุ และครอบครัวรับภาระค่าใช้จ่ายสูงขึ้น
สังคมประสบปัญหาขาดแคลนวัยแรงงาน
โรคเรื้อรัง ส่งผลให้อัตราการพึ่งพิง อัตราความพิการสูงขึ้น
ผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งมากขึ้น
ขาดผู้ดูแลสุขภาพในผู้สูงอายุ
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ผลกระทบ
ด้านการศึกษาพยาบาล
อัตราการลาออกสูงขึ้น
ลดการผลิตและลดอัตราการบรรจุข้าราชการ
ด้านการบริหารการพยาบาล
พยาบาลในภาครัฐย้ายไปทำงานที่เอกชน
วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงมีราคาแพง
ด้านบริการการพยาบาล
การขาดแคลนพยาบาล (global nurse shortages)
นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub)
ด้านวิจัยทางการพยาบาล
ภาระงานพยาบาลเพิ่มขึ้น
พยาบาลมีเวลาในการพัฒนาตนเองน้อยลง
วิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาล ในด้านงบประมาณ
ระบบเศรษฐกิจถูกแบ่งออกเป็น 4 ประเภท
ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมหรือแบบวางแผน
ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์
ระบบเศรษฐกิจเสรีหรือทุนนิยม
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
แนวทางการพัฒนา
ด้านการศึกษาพยาบาล
ต้องเพิ่มแรงจูงใจให้กับผู้ที่เข้ามาเรียน
เพิ่มหลักสูตรที่ช่วยลดภาระ
พยาบาล อาทิหลักสูตรผู้ช่วย
ด้านการบริหารการพยาบาล
เปิดโอกาสให้พยาบาลจบใหม่ได้เลือกทำงานในแผนกที่ต้องการ
สร้างเครือข่ายระหว่างโรงพยาบาลกับ
องค์กรส่วนท้องถิ่น
ด้านบริการการพยาบาล
มีการให้บริการสุขภาพเชิงรุก
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
ด้านวิจัยทางการพยาบาล
ส่งเสริมการทางวิจัย R to R
ส่งเสริมพยาบาลให้พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี
ประเทศไทย ใช้ระบบ
เศรษฐกิจแบบผสมหรือระบบเศรษฐกิจทุนนิยมใหม่