Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พัฒนาการและแนวโน้ม ของวิชาชีพพยาบาล (ปัจจัยด้านการศึกษา (ผลกระทบ…
พัฒนาการและแนวโน้ม
ของวิชาชีพพยาบาล
ปัจจัยด้านการศึกษา
ผลกระทบ
บริหารพยาบาล
-การ train การปฏิบัติให้กับพยาบาลจบใหม่ต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึ้น
-โอกาสการพัฒนาการเข้าถึงผู้บริหารง่ายขึ้น
การศึกษาพยาบาล
-ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
-การศึกษาเน้นการท่องจำเนื้อหา นักศึกษาวิเคราะห์ไมเ่ป็น
บริการพยาบาล
-ศักยภาพในการรับรู้ของประชาชนไม่มีประสิทธิภาพ
-การสื่อสารกับผู้รับบริการต่างชาติไม่มีประสิทธิภาพ
-การบริการไมต่รงจุดกับความต้องการ
การวิจัยและการพัฒนา
องค์ความรู้
-การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการนำมาใช้ดูแลผู้ป่วยมากขึ้น
-ปัจจุบันมีนวัตกรรมด้านการพยาบาลมากมายแต่ใช้ประโยชน์ได้จริงมีน้อย
แนวทางการพัฒนาการและ
แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล
บริหารพยาบาล
-ควรมีการจับคู่trainระหว่างพยาบาลจบใหม่กับพยาบาลที่มีประสบการณ์การทำงาน
จะเป็นการเพิ่มพูนความสามารถและประสิทธิภาพในการทำงาน
-ส่งเสรมิให้มีการศึกษาอย่างต่อเนื่องของผู้บริหารเพื่อให้
พยาบาลมีการพัฒนาศักยภาพ ตนเองอย่างต่อเนื่อง
การศึกษาพยาบาล
-การเรียนจากสถานการณจ์ริง การฝึกให้คิดวเิคราะห์มากขึ้น
-กิจกรรมการเรียนนการสอนส่งเสรมิภาษาอังกฤษ
บริการพยาบาล
-ปรับเปลี่ยนการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโดยการให้ครอบครัวมส่วนร่วม
-จัดอบรม ทบทวน และสอบวัดผลภาษาอังกฤษของพยาบาล
การวิจัยและการพัฒนา
องค์ความรู้
-พัฒนานวัตกรรมที่มีคณุภาพและประสบความสำเรจ็ในการดำเนินการทำ
โดยการบรูณการความรู้ของระเบียบวิจัยทางคลินิกร่วมกับการดำเนินการวิจัย
ขณะปฏิบัติงานประจำหรือที่รู้จักกันว่า Routine to Research (R to R)
-ส่งเสรมิการนำหลักฐานเชิงประจกัษ์มาใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น
ลักษณะ
ปัญหาและสถานการณ์
การศึกษาในประเทศไทย
ความเหลื่อมล้ำ
ทางการศึกษา
-การเข้าถึงการศึกษาไม่ทั่วถึง
-ปัญหาการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาไม่เท่าเทียม
ประสิทธิภาพการบริหาร
ทรัพยากรทางการศึกษา
-กระบวนการเรียนการสอนเน้นเนื้อหา ขาดการณ์วิเคราะห์ ประมวลผล สรุปข้อมูล
-การใช้ IT เพื่อส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน
-คุณภาพของครูน้อย
คุณภาพการศึกษาต่ำ
-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ
-ขาดวิจัยและนวตักรรม
-ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
-ขาดทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ปัจจัยด้านการเมือง
ผลกระทบ
บริหารการพยาบาล
-ขาดอัตรากำลังเนื่องจากพยาบาลลาออก
-ขาดขวัญและกำลังใจทางด้านค่าตอบแทนและภาระงาน
การศึกษาพยาบาล
-เร่งผลิตพยาบาล
-เพิ่มหลักสูตรเนื้อหารายวิชาทางแพทย์แผนไทย
บริการพยาบาล
-ภาระงานของพยาบาลเพิ่มมากขึ้น
-ส่งไปอบรมด้าน stem cell
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้
-ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการลาออก
-ทำวิจัยเกี่ยวกับการปลูกถ่ายstem cell
แนวทางการพัฒนาการและ
แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล
บริหารการพยาบาล
-จัดหาอัตรากำลังพยาบาลที่ต้องการ
-สร้างแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกัน
ภาวะแทรกซ้อนจากโรคหัวใจและหลอดเลือด
การศึกษาพยาบาล
-ส่งพยาบาลไปอบรมสาขาเฉพาะทาง ระยะสั้น
-เพิ่มพูนความรู้และทักษะเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
บริการพยาบาล
-บริการสุขภาพแบบเชิงรุก โดยการคัดกรองโรคแบ่งกลุ่ม
-ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการหลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลสูงกับผู้ที่มารับบริการ
การวิจัยและการพัฒนา
องค์ความรู้
-สร้างแนวทางปฏิบัติการพยาบาล
-ศึกษาแนวทางการลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือดของต่างประเทศ
ลักษณะ
มาตรา 55 รัฐต้องดําเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีประสิทธิภาพ
อย่างทั่วถึงเสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการส่งเสริม
สุขภาพและการป้องกันโรค และส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการพัฒนา
ภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยให้เกิดประโยชน์สูงสุด
รธม .มาตรา 47 บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐ
บุคคลผู้ยากไร้ย่อมมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ปัจจัยด้านเศรษกิจ
ผลกระทบ
บริหารพยาบาล
ด้านคนถ้ารายได้ลดลงและงบประมาณลดลง ก็จะทำให้พยาบาลขาดแคลน
มีผลกระทบต่อการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีราคาแพง
การศึกษาพยาบาล
ปีพ .ศ . 2559 สังคมไทยได้มีพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มชำนาญการที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไปลาออกร้อยละ 92
และพยาบาลวิชาชีพที่จบการศึกษาใหม่ เมื่อไม่มีตำแหน่งที่จะบรรจุให้ก็จะมีการลาออกไป 50%
และอีกไม่นานก็มีการทยอยลาออกไปอีก 30% ทำให้มีการคาดการณ์ว่ามีพยาบาลวิชาชีพที่ทำงาน
เป็นอัตราจ้างอยู่ในระบบประมาณ 20%
บริการพยาบาล
การที่รัฐบาลมีนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าทำให้มีจำนวนผู้ป่วยมารับบริการเพิ่มขึ้น
พยาบาลมีภาระงาน เพิ่มมากขึ้น ทำให้อัตรากำลังลดลงและเกิดการบริการที่ไม่ได้คุณภาพ
การขาดแคลนพยาบาล ปี พ .ศ .2555 พบว่าพยาบาลมีสิทธิสวัสดิการต่ำทำให้ขาด
แรงจูงใจในการดึงคนรุ่นใหม่เข้ามาในระบบบริการของรัฐ
การวิจัยและการพัฒนา
องค์ความรู้
เน้นเรื่องวิจัยและนวัตกรรม ประกอบกับประเทศไทยเข้าสู่ AEC จึงผลักดันให้ไทยเป็น Medical HUB
ทำให้เกิดการแข่งขันด้านบริการสุขภาพที่รุนแรง พยาบาลจึงต้องทำงานวิจัยทางด้านการพยาบาล
แนวทางการพัฒนาการและ
แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล
บริหารพยาบาล
ประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นกรอบคิด
ในการตัดสินใจในการบริหารงานเพื่อ การพัฒนาองค์การของผู้บริหาร
การศึกษาพยาบาล
หากเป็นไปได้ควรเพิ่มตำแหน่งการบรรจุราชการ
เสริมแรงจูงใจ และสร้างคุณค่าในวิชาชีพ
บริการพยาบาล
ส่งเสริมให้หน่วยงานให้ได้รับการพัฒนารับรองคุณภาพตามมาตรฐาน
สนับสนุนการเป็น Medical Hub
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้
เน้นการทำงานวิจัยแบบ R2R คือ การทำงานวิจัยจากงานประจำเพื่อแก้ปัญหาหน้างาน
ลักษณะ
เศรษฐศาสตร์มหภาค
(Macroeconomics)
ศึกษาถึงพฤติกรรมของเศรษฐกิจในระดับนโยบาย หรือมองภาพโดยรวม
แนวโน้มเศรษฐกิจไทย ปี 2562
(2) แนวโน้มการปรับตัวดีขึ้นอย่างช้าๆ ของการส่งออกในช่วงครึ่งปีหลัง
(3) การดำเนินมาตรการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของภาครัฐ
(1) แนวโน้มการขยายตัวในเกณฑ์ดีของอุปสงค์ภายในประเทศที่จะยังมีความต่อเนื่อง
ทั้งในด้านการใช้จ่ายภาคครัวเรือน และการลงทุนภาคเอกชน
เศรษฐศาสตร์จุลภาค
(Microeconomics)
ศึกษาถึงพฤติกรรมของเศรษฐกิจในระดับหน่วย หรือระดับบุคคล
ระบบเศรษฐกิจ
3 . ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์
4 . ระบบเศรษฐกิจแบบแบบผสม
2 . ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม
1 . ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีหรือทุนนิยม
ลักษณะปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ (economy) ระบบที่มีการบริหารจัดการโดยองค์การทางเศรษฐกิจ
ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก และการบริโภค
ปัจจัยด้านสังคม
ผลกระทบ
บริหารพยาบาล
-ต้องการใช้วัสดุ อุปกรณ์เพิ่มมากขึ้นทำให้ภาระค่าใช้จ่ายสูงขึ้น
-ขาดการติดตามปัญหาตามสภาพจริงของชุมชน
-การผลิตพยาบาลไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้ใช้บริการ
การศึกษาพยาบาล
-ชุมชนเมืองเข้าถึงยาก ทำให้ขาดการศึกษาและการเข้าถึงชุมชน
-กระบวนการเรียนการสอนเน้นการสอนด้านวิชาการมากกว่าด้านทักษะปฏิบัติการ
บริการพยาบาล
-เกิดการร้องเรียนในการให้บริการด้านสุขภาพมากขึ้น
-เกิดความล่าช้าของการบริการสุขภาพ
-การดูแลอย่างต่อเนื่องหรือระยะยาว และการบริการสุขภาพเชิงรุก
การวิจัยและการพัฒนา
องค์ความรู้
-ขาดการนำผลการวิจัยไปรองรับการให้การพยาบาล (Evidence Base)
-งานวิจัยเฉพาะทางด้านผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย
-ขาดนวัตกรรมในการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูในผู้สูงอายุ
แนวทางการพัฒนาการและ
แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล
บริหารพยาบาล
-วางแผนจัดสรรกำลังคนให้เหมาะสมกับงาน
-สร้างแรงจูงใจแก่พยาบาล เช่น สวัสดิการ ค่าตอบแทน
-เพิ่มทักษะของบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานได้มากขึ้น
การศึกษาพยาบาล
-ปรับหลักสูตรการศึกษาให้มีเนื้อหาในการดูแลผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน จิตเวช
และทักษะทางภาษา ให้มากขึ้น เน้นการปฏิบัติให้เพิ่มมากขึ้น
-ฝึกฝนการใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ให้กับพยาบาล ให้มีความรู้ และสามารถใช้อุปกรณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บริการพยาบาล
-ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ การคัดกรองโรคมากกว่าการรักษา
-การให้การพยาบาลครอบคลุมทั้ง 4 มิติอย่างต่อเนื่อง และเคร่งครัด
-จัดการให้บริการข้ามวัฒนธรรม
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้
-เน้นการวิจัยที่พัฒนานวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุ
-พัฒนาฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย เช่น แหล่งสนับสนุนในการวิจัย
ลักษณะ
ขนาดของครัวครัวที่เล็กลงทำให้เกิดผลกระทบต่อสังคมไทยคือ ขาดผู้ดูแลยามเจ็บป่วย
เกิดความเลื่อมล้ำทางสังคม มีการแบ่งชนชั้นระหว่างคนรวย คนจน และเกิดการฟ้องร้องมากขึ้น
ในอนาคตประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing society หรือ Aging society)
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
ลักษณะ
คุณลักษณะยุคดิจิทัล
2 . การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารที่ไม่มีขอบเขตหรือข้อจำกัดในเรื่องเวลาหรือสถานที่
3 . การใช้เทคโนโลยีมาบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ
1 . ความรวดเร็วในการสื่อสาร
Disruptive World
เป็นการเปลี่ยนแปลงของโลกที่สิ่งหนึ่งเข้ามาแทนที่อีกสิ่งหนึ่ง ทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดความท้าทายในการก้าวเข้าสู่ยุค Digital
ผลกระทบ
บริหารการพยาบาล
2 . ค่าตอบแทนของบุคลากรสาธารณสุขโดยการใช้โปรแกรม Pay-for-Performance (P4P)
3 .เทคโนโลยีบริหาร อุปกรณ์และ โดยวิธีตลาดอิเล็กทรอนิกส์(e-Market)
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า คุ้มทุน
1 .เทคโนโลยีการบริหารคนหรือเเรงงาน เช่น ช่วยในการจัดอัตรากำลังคน การจัดตารางเวร
4 .เทคโนโลยีการจัดการ (Management) ได้แก่ การบันทึกทางการพยาบาลแบบอิเล็กทรอนิกส์
การจัดฐานข้อมูล ช่วยลดค่าใช้จ่ายของโรงพยาบาลลดการใช้กระดาษ
การศึกษาพยาบาล
ยึดหลักการ “สอนให้ น้อยลง แต่ให้เรียนรู้ให้มากขึ้น (Teach less, Learn more)”
เน้นการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
บริการพยาบาล
ผลกระทบด้านลบ
2 .การประสบปัญหาการเข้าถึงของข้อมูล และการใช้งานมีความผิดพลาด
3 .การใช้ประโยชน์ของข้อมูล การพัฒนาต่อยอดของข้อมูล
ให้เกิดประโยชน์กับทุกหน่วยงานทำได้ยาก
1 .รุกล้ำความเป็นส่วนตัว
ผลกระทบด้านบวก
ช่วยให้เกิดความถูกต้อง ทางด้านอุปกรณ์ที่ทันสมัยในการตรวจ และรักษา
การวินิจฉัยโรค ประหยัดเวลา รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อน
เพิ่มประสิทธิภาพ ช่วยประกอบการตัดสินใจที่ซับซ้อน โดยเฉพาะในการดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤติ
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้
แต่ปัจจุบันที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า ทำให้การ “ลอก-copy” ข้อความจากงาน
ของผู้อื่นมา “วาง-paste” ไว้ใน งานของตัวเองทำได้อย่างง่าย
มีการสร้างข้อมูลสารสนเทศในรูปของ อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น เช่น ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ออนไลน์
ฐานข้อมูลวารสารเฉพาะทาง ข้อมูลที่เผยแพร่บน Web, Blog
แนวทางการพัฒนาการและ
แนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล
บริหารพยาบาล
พยาบาลมีการพัฒนาการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาลด้วยอิเล็กทรอนิกส์
ทำให้เกิดประโยชน์ในด้านการตรวจสอบผลการจัดอัตรากำลัง
การศึกษาพยาบาล
จำเป็นต้องส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการเรียนรู้เพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21
ตามแนวทางที่เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ (Active Learning)
บริการพยาบาล
พัฒนาสมรรถนะตนเองให้เป็น smart nurse หรือ ผู้ที่ศักยภาพสูงที่มี
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์ด้านสุขภาพ
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้
ควรมีจัดประสบการณ์ให้นักเรียนพยาบาลมีการเรียนรู้เกี่ยวกับสาระสำคัญของการวิจัย กระบวนการวิจัยและลงมือปฏิบัติจริง
พยาบาลวิชาชีพในบทบาทของผู้ทำวิจัยและนำผลการวิจัยไปใช้ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย
ต่อผู้รับบริการและเป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง
นางสาวศิรภัสสร บัวพา รหัส590301113