Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มและ พัฒนาการวิชาชีพพยาบาล (ด้านการศึกษา…
ปัจจัยที่มีผลต่อแนวโน้มและ
พัฒนาการวิชาชีพพยาบาล
ด้านการศึกษา
ปัญหาและสถานการณ์การศึกษาในประเทศไทย
ความเหลื่อมล้้ำทางการศึกษา
ประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรทางการศึกษา
คุณภาพการศึกษาต่ำ
ด้านบริการการพยาบาล
ผลกระทบ
การสื่อสารไม่มีประสิทธิภาพ
การรับรู้ของผู้รับบริการไม่มีประสิทธิภาพ
แนวทางการพัฒนา
จัดอบรม ทบทวน และสอบวัดผลภาษาอังกฤษ
การให้ความรู้ผู้รับบริการ
ด้านการบริหารการพยาบาล
ผลกระทบ
โอกาสการพัฒนาการเข้าถึงผู้บริหารง่ายขึ้น
เกิดช่องว่างในการบริหาร
แนวทางการพัฒนา
หาแนวทางในการดึง
ศักยภาพของพยาบาลรุ่นใหม่เหล่านี้ออกมาใช้
ส่งเสริมให้มีการศึกษาอย่างต่อเนื่องของผู้บริหาร
ด้านการศึกษาพยาบาล
ผลกระทบ
การศึกษาเน้นการท่องจำเนื้อหา นักศึกษาวิเคราะห์ไม่เป็น
ความไม่กล้าหาญทางจริยธรรม
มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561
แนวทางการพัฒนา
ฝึกการคิดวิคราะห์ เรียนจากสถานการณ์จริง
พัฒนาความไม่กล้าหาญทางจริยธรรม
การพัฒนาการสร้างนวัตกรรม
ด้านวิจัยทางการพยาบาล
ผลการทบ
นวัตกรรมที่ใช้ประโยชน์ได้จริงมีน้อย
การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการนำมาใช้ดูแลผู้ป่วยมากขึ้น
แนวทางการพัฒนา
ส่งเสริมการนำหลักฐานเชิงประจักษ
พัฒนานวัตกรรมที่มีคุณภาพ
Routine to Research (R to R)
ด้านสังคม
สถานการณ์
ลักษณะครอบครัวไทย
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ประชากร
ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ระดับ Aging society
ความแตกต่าง Generation
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
ผลกระทบต่อวิชาชีพ
ด้านการบริการ
ความต้องการสุขภาพมากขึ้น
ดูแลผู้รับบริการมากขึ้น
เกิดการฟ้องร้องมากขึ้น
ความแตกต่างข้ามวัฒนธรรม
โรคติดต่อที่มาพร้อมกับแรงงาน
ด้านบริหาร
อัตรากำลังพยาบาลไม่เพียงพอ
ด้านการศึกษา
หลักสูตรเฉพาะทางมีน้อย
ด้านการวิจัย
วิจัยด้านการดูแลผู้สูงอายุมีน้อย
แนวโน้มวิชาชีพพยาบาล
พัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน เช่น Home ward ทีมหมอครอบครัว
Care giver ที่มีคุณภาพ
ด้านการเมือง
ความหมาย
“การเมือง” (politic) เป็นกระบวนการ การใช้อำนาจหน้าที่แสวงหาความยุติธรรม เพื่อกำหนดแนวทางหรือข้อปฏิบัติที่มีลักษณะเป็นสาธารณะ ให้ทุกคนมีการดำรงชีวิตที่ดีในสังคม
องค์ประกอบการพัฒนาทางการเมือง
ความสามารถของระบบการเมือง (Capacity)
การแบ่งโครงสร้างทางการเมืองให้มีความแตกต่าง และมีความชำนาญเฉพาะ (Differentiation and Specialization)
ความเสมอภาค (Equality)
การเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีเหตุผล (Secularization of Political Culture)
ความเป็นอิสระของระบบย่อย (Subsystem Autonomy)
ผลกระทบของปัจจัยด้านการเมือง
ระบบหลักประกันสุขภาพฉบับ พ.ศ.2562
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2562
วิสัยทัศน์เชิงนโยบาย Thailand 4.0
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดโดยใช้เซลล์ต้นกำเนิดของตนเอง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2560
แนวโน้มการพัฒนาของวิชาชีพพยาบาล
ด้านการบริหารพยาบาล
พยาบาลต้องประสานการดูแลระหว่างสถานบริการ สุขภาพ หลากหลายระดับ และเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพ และมีความรู้และทักษะที่เฉพาะทาง
ด้านการศึกษาการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาลมีคุณภาพและมีมาตรฐานมากขึ้น มีการเพิ่มทรัพยากรบุคคลทางด้านสาธารณสุข
ด้านการบริการพยาบาล
คุณภาพในการให้การบริการด้านสุขภาพดีขึ้น ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น
ด้านวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาล
งานวิจัยและพัฒนาการสรางนวัตกรรมขยายตัว เกิดนวัตกรรมในบริการสุขภาพ และการแพทย์มากขึ้น
ด้านเศรษฐกิจ
ลักษณะทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจ
ความหมาย
เรื่องของกิจกรรมและความสัมพันธ์ของคนในด้านการผลิตและบริการ หรือการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการบริโภคที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
ระบบเศรษฐกิจ
มีทั้งหมด 4 ระบบใหญ่ๆ ซึ่งประเทศไทยใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสมหรือระบบเศรษฐกิจทุนนิยมใหม่โดย คือ รัฐบาลและเอกชน มีความรับผิดชอบร่วมกันในการตัดสินใจทำการผลิตสินค้าและบริการ
เศรษฐกิจระดับจุลภาค (microeconomics)
รายได้ครัวเรือน
เศรษฐกิจระดับมหภาค (macroeconomics)
รายได้มวลรวมของประเทศ หรือ GDP
เศรษฐกิจกับการบริการพยาบาล
ผลกระทบของต่อวิชาชีพพยาบาล
นโยบายศูนย์กลางทางการแพทย์ (Medical Hub)
สุขภาพของผู้รับบริการ (client health)
การขาดแคลนพยาบาล (global nurse shortages)
แนวทางการพัฒนา
มีการให้บริการสุขภาพเชิงรุก
การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม
เกิดความแตกต่างกันในกลุ่มอายุ และคุณภาพการบริการพยาบาล
เนื่องจากอัตราการบรรจุราชการลดลง อัตราการผลิตพยาบาลเพิ่มน้อย
ส่งผลให้พายาบาลวิชาชีพมีภาระงานเพิ่มมากขึ้น เกิดอัตราการลาออกเพิ่มขึ้น จากภาวะเศรษฐกิจปี 2540
เศรษฐกิจกับการบริหารพยาบาล
ด้านบุคลากร
พยาบาลในภาครัฐย้ายไปทำงานที่เอกชน การกระจายอัตรากำลังแต่ละพื้นที่ไม่เท่ากัน
เปิดโอกาสให้พยาบาลจบใหม่ได้เลือกทำงานในแผนกที่ต้องการ
เพิ่มสวัสดิการ เช่น สวัสดิการบ้านพัก เผยแพร่ชื่อเสียงและผลงานของพยาบาล เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจ
ด้านเงิน
ประชาชนเข้าถึงบริการด้านสุขภาพมากขึ้น ร่วมกับจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ต้องใช้งบประมาณในการบริหารมากขึ้น
สร้างเครือข่ายระหว่างโรงพยาบาลกับองค์กรส่วนท้องถิ่นในเรื่องของงานการป้องกัน ส่งเสริมภาวะสุขภาพ
ด้านการจัดการ
งบประมาณมากขึ้นทำให้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 12 บรรลุตามเป้าประสงค์
สามารถแก้ไขโดยใช้ Med hub (แผนพัฒนาเศรษฐกิจ)
ด้านวัสดุ
วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงมีราคาแพง ไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้ป่วย
ส่งเสริมพัฒนานวัตกรรมจากสิ่งที่มีอยู่เดิม
เศรษฐกิจกับการศึกษาพยาบาล
จากผลกระทบด้านการบริการทีให้บริการไม่มีประสิทธิภาพ และในด้านของการบริหารที่มีอัตราการลดการผลิตและลดอัตราการบรรจุข้าราชการ และอัตราการลาออกสูงขึ้น พยาบาลจึงมีภาระงานเพิ่มมากขึ้น
ต้องเพิ่มแรงจูงใจให้กับผู้ที่เข้ามาเรียนและสร้างความตระหนักให้รักในวิชาชีพ
เพิ่มหลักสูตรที่ช่วยลดภาระในการทำงานของพยาบาล อาทิหลักสูตรผู้ช่วย อสม. Care giver
เศรษฐกิจกับการวิจัยการพยาบาล
มีผลกระทบต่อด้านวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาล
ส่งเสริมพยาบาลให้พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี ในการทำวิจัยทางการพยาบาล เพื่อลดต้นทุนการใช้ทรัพยากรในการวิจัย
ส่งเสริมการทำวิจัย R to R เพื่อลดต้นทุนการทำวิจัย
ด้านเทคโนโลยี
ความหมาย
Disruptive World เป็นการเปลี่ยนแปลงของโลกที่สิ่งหนึ่งเข้ามาแทนที่อีกสิ่งหนึ่ง ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดความท้าทายในการก้าวเข้าสู่ยุค Digital
ลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
ไม่มีขอบเขตหรือข้อจำกัดในเรื่องเวลาหรือสถานที่
การใช้เทคโนโลยีมาบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายต่าง ๆ
ความรวดเร็วในการสื่อสาร
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาล
ปัจจุบันที่เทคโนโลยีมีความก้าวหน้า ทำให้การ “ลอก-copy” ข้อความจากงานของผู้อื่นมา “วาง-paste” ไว้ใน งานของตัวเองทำได้อย่างง่าย
การศึกษาการพยาบาล
ยึดหลักการ “สอนให้ น้อยลง แต่ให้เรียนรู้ให้มากขึ้น
(Teach less, Learn more)”
การบริหารการพยาบาล
นำเทคโนโลยีมาบริหาร 4M
การบริการพยาบาล
ทางลบ
การประสบปัญหาการเข้าถึงของข้อมูล และการใช้งานมีความผิดพลาด
รุกล้ำความเป็นส่วนตัว
ทางบวก
เพิ่มประสิทธิภาพ ช่วยประกอบการตัดสินใจที่ซับซ้อน โดยเฉพาะในการดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤติ
ช่วยให้เกิดความถูกต้อง ในการตรวจ และรักษา ที่เข้ามาช่วยเหลือในการวินิจฉัยโรค ประหยัดเวลา รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อน
แนวทางการพัฒนาและแนวโน้มของวิชาชีพพยาบาล
เชื่อมโยงในแต่ละระดับของข้อมูล (หน่วยงาน โรงพยาบาล จังหวัด)
ใช้ในระบบการปรึกษางานการพยาบาลทั้งระบบพยาบาลปรึกษาพยาบาลเฉพาะทาง และระบบผู้ป่วย/ประชาชนปรึกษาพยาบาล
เพิ่มสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีและการวิเคราะห์ข้อมูล
นวัตกรรมด้านสารสนเทศทางการพยาบาลมากขึ้น