Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการและแนวโน้มวิชาชีพพยาบาล ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ…
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการและแนวโน้มวิชาชีพพยาบาล ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixedeconomy)
ระบบเศรษฐกิจสังคมนิยมหรือแบบวางแผน(socialism)
ระบบเศรษฐกิจเสรีหรือทุนนิยม (Laissez-faireorcapitalism)
ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต์(communism)
หมายถึง
กิจกรรมทางสังคมต่างๆที่ท าให้เกิดความสัมพันธ์กันในรูปแบบของการผลิตและการบริโภคโดยมีปัจจัยทางการเงินและการลงทุนเข้ามาเกี่ยวข้องเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของการบริโภคที่จ าเป็นต่อการดำรงชีวิต
ภาวะเงิน
ภาวะเงินเฟ้อ
ภาวะที่ราคาสินค้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เศรษฐกิจมีขยายตัว มีการจ้างงานเพิ่มขึ้น ประชาชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น เป็นภาวะที่มีอุปสงค์มากกว่าอุปทาน
ภาวะเงินฝืด
ภาวะที่สินค้าและบริการลดลงอย่างต่อเนื่อง เช่น การมีอุปทานมากกว่าอุปสงค์ คือ มีความ
ต้องการในการขายสินค้าและบริการมากกว่าความต้องซื้อสินค้าและบริการ
GDP
1.ประชาชนมีรายได้และมีการใช้จ่ายและจ่ายภาษี มีการออมเงินในธนาคาร และมีการซื้อหุ้นหรือกองทุน
2.ภาคธุรกิจ มีรายได้จากสินค้าและบริการ มีการกู้เงินจากธนาคาร มีการจ่ายดอกเบี้ย การจ่ายค่าแรงและจ่ายภาษี
3.ภาครัฐ มาจากรายได้จากภาษีต่าง การสร้างสาธารณูปโภค สนับสนุนให้ภาคธุรกิจทำการสร้างรายได้
ผลกระทบเศรษฐกิจกับพยาบาล
การบริหาร
ด้านเงินเศรษฐกิจในปัจจุบันอยู่ในเกณฑ์ที่ดี มีรายได้โดยเฉลี่ยมากกว่ารายจ่าย
ด้านวัสดุ/อุปกรณ์ปัจจุบันมีค่าครองชีพที่สูงขึ้น ส่งผลให้ราคาวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์สูงขึ้น
ด้านการจัดการ เศรษฐกิจประเทศไทยดีขึ้น
ด้านบุคลากรเศรษฐกิจในปัจจุบันมีค่าครองชีพที่สูงขึ้น ส่งผลให้บุคลากรในวิชาชีพพยาบาลใน
ภาครัฐลาออกจากโรงพยาบาลรัฐ
การศึกษา
ด้านแนวคิดทฤษฎีการจัดการศึกษาพยาบาล
ด้านหลักการจัดการศึกษาพยาบาล
ด้านปรัชญาของหลักสูตร
ด้านจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ด้านเนื้อหาของหลักสูตร
ด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน
ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
ด้านการประเมินผลหลักสูตร
การบริการ
ประการที่สอง คือ วิกฤตภาพลักษณ์ของวิชาชีพสะท้อนว่าวิชาชีพการพยาบาลมีการบริการแบบเชิงรุกในชุมชน แต่ไม่เกิดผลลัพธ์ของการปฏิบัติการหรือการบริการพยาบาลที่เหมาะสม
ประการสุดท้าย คือ วิกฤตของการให้บริการพยาบาลที่มีคุณภาพ
ประการแรก คือการขาดแคลนกำลังคนทางการพยาบาล นอกจากนี้ประเด็นของความสมดุลระหว่าง
การผลิตการใช้และการกระจายยังไม่ทั่วถึง
ด้านวิจัย
มีผลกระทบต่อวิชาชีพทางด้านวิจัยและการพัฒนาองค์ความรู้
ทางการพยาบาลเล็กน้อย
แนวโน้มของการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ทางการพยาบาลน่าจะเป็นไปในทางที่แย่ลง
เนื่องจากปัจจัยทางบุคคลในการทำวิจัยที่มีประสิทธิภาพลดลงจากภาระงานที่เพิ่มขึ้น
แนวทางการพัฒนา
บริหารการพยาบาล
ผู้บริหารคัดเลือกพยาบาลที่จบใหม่ โดยเปิดโอกาสให้พยาบาลที่จบใหม่ได้เลือกทำงานในแผนกที่ต้องการ
เสริมจุดเด่นให้เป็นจุดแข็ง
พัฒนาพยาบาลวิชาชีพที่มีอยู่ ให้มี
ความสามารถที่หลากหลาย
ส่งเสริมในด้านนวัตกรรม โดยพัฒนาจากนวัตกรรมเดิม หรือนำสิ่งที่มีอยู่มาพัฒนาให้เกิดนวัตกรรมใหม่
ผู้บริหารร่วมสร้างเครือข่ายระหว่างโรงพยาบาลกับองค์กรส่วนท้องถิ่นในเรื่องของงานการส่งเสริม ป้องกันภาวะสุขภาพจากโรค
ผู้บริหารก าหนดขอบเขตของงานให้แก่
พยาบาลวิชีพอย่างเหมาะสมตามหน้าที่
การศึกษา
จัดกระบวนการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง
เพิ่มแรงจูงใจในการเข้ามาเรียนพยาบาลและสร้างความตระหนักให้กับนักศึกษาพยาบาลเพื่อให้รักวิชาชีพพยาบาล
พัฒนาหลักสูตรให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม และผู้บริหารมีการนำเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการเรียนการสอน
นำเทคโนโลยีมาช่วยในการลดต้นทุน โดย
เน้นให้มีการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
ประยุกต์การใช้วัสดุ จากการสร้างนวัตกรรมมาใช้ทดแทนเพื่อลดอัตราค่าใช้จ่ายจากการซื้ออุปกรณ์
ด้านการวิจัย
พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีของการวิจัยการพยาบาล เพื่อให้มีการลดต้นทุนการใช้ทรัพยากรในการวิจัยทั้งการใช้กระดาษ ลดการจ้างคนในการด าเนินการวิจัยในบ่างส่วน
บริการพยาบาล
การพัฒนาสมรรถนะของพยาบาลทุกระดับเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลองค์กร
การสร้างวัฒนธรรมร่วมของบุคลากรโดยการ
สร้างการดึงดูด
การธำรงรักษา เช่น ความสามัคคีและความ
ยุติธรรมในการปกครอง