Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การอ่านวิเคราะห์ผลการตรวจก๊าซในเลือดแดง (Arterial Blood Gas) และการพยาบาล
การอ่านวิเคราะห์ผลการตรวจก๊าซในเลือดแดง (Arterial Blood Gas) และการพยาบาล
จุดประสงค์
1.เพื่อประเมินระดับของออกซิเจนในเลือดของผู้ป่วย
เพื่อตรวจดูสมดุลกรด-ด่างในเลือดของผู้ป่วย
เพื่อประเมินสภาพการหายใจ (ventilation) ของผู้ป่วย
ค่าปกติของก๊าซในเลือดแดง
pH 7.35 - 7.45
PaO2 80 - 100 mmHg
PaCO2 35 - 45 mmHg
HCO3- 22 - 26 mEq/L
BE +- 2.5 mEq/L
SaO2 95 -100 %
การวิเคราะห์ผลการตรวจก๊าซในเลือดแดง
pH บอกความเป็นกรด-ด่างในร่างกาย
pH < 7.35 เรียกว่า acidosis
pH > 7.45 เรียกว่า alkalosis
PaO2 บอกระดับออกซิเจนในเลือด
PaO2 < 80 mmHg : mild-hypoxemia
PaO2 < 60 mmHg : moderate-hypoxemia
PaO2 < 40 mmHg : severe-hypoxemia
PaO2 >120 mmHg : hyperoxemia
PaCO2 ประเมินสภาพการหายใจ
PaCO2 <35 mmHg : respiratory alkalosis
PaCO2 >45 mmHg : respiratory acidosis
HCO3- บอกการทำงานของไต/ปริมาณคาร์บอเนตในเลือด
HCO3- <22 mEq/L : metabolic acidosis
HCO3- >26 mEq/L : metabolic alkalosis
5.BE
BE เป็นลบ ร่างกายมีภาวะเป็นกรด
BE เป็นบวก ร่างกายมีภาวะเป็นด่าง
SaO2 ค่าฮีโมโกลบินส่วนที่จับกับออกซิเจนในเลือดแดง
ขั้นตอนการวิเคราะห์
วิเคราะห์ค่า pH
2.วิเคราะห์ค่า bicarbonate สำหรับสาเหตุทาง metabolic
วิเคราะห์ค่า PaCO2 สำหรับสาเหตุทาง respiratory
4.พิจารณาค่า PaO2 สำหรับภาวะ hypoxemia
การพยาบาลภาวะเสียสมดุลกรด-ด่าง
1.เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกวิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพการหายใจลดลง >> ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูแลให้รับออกซิตามแผนการรักษา สังเกตลักษณะการหายใจลำบาก ติดตามผลการตรวจ arterial blood gas เป็นระยะ
เนื้อเยื่อของร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอเนื่องจากปริมาณเลือดออกจากหัวใจลดลง >> วัดและประเมินสัญญาณชีพ สังเกตอาการภาวะเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ ดูแลให้ได้รับยาปรับสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย เพื่อให้หัวใจกลับมาทำงานได้ปกติ
3.เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลง >> ยกราวกั้นเตียงขึ้น คอยระวังอันตรายจากการชัก ติดตามประเมินระดับความรู้สึกตัวเป็นระยะ
4.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้อง ท้องอืด ท้องเดิน >> (อาการท้องอืด) ติดตามประเมินการเคลื่อนไหวของลำไส้ ดูแลให้ได้รับยาบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน ประเมินและบันทึกปริมาณการสูญเสียน้ำของผู้ป่วย ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามแผนการรักษาของแพทย์