Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการและแนวโน้ม วิชาชีพพยาบาล (การศึกษา…
ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการและแนวโน้ม
วิชาชีพพยาบาล
การศึกษา
ผลกระทบ
บริการ
ศักยภาพในการรับรู้ของประชาชนไม่มีประสิทธิภาพ
บริการไม่ตรงความต้องการ
สื่อสารผู้รับบริการต่างชาติไม่มีประสิทธิภาพ
บริหาร
เกิดช่องว่างการบริหารของพยาบาลยุคใหม่และยุคเก่า
การ train พยาบาลจบใหม่ต้องใช้เวลาเพิ่ม
เข้าถึงผู้บริหารได้ง่าย
การศึกษา
เน้นท่องจำ ไม่เน้นวิเคราะห์
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561
มีเทคโนโลยีแต่ครูและผู้เรียน ใช้เครื่องมือไม่มีประสิทธิภาพ
วิจัย
มีนวัตกรรมทางการพยาบาลมากมายแต่ใช้ประโยชน์ได้จริงน้อย
การใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการนามาใช้ดูแลผู้ป่วยมากข้ึน
แนวทางการพัฒนาและแนวโน้ม
กิจกรรมการเรียนการสอนส่งเสริมภาษาอังกฤษ
การเรียนจากสถานการณจ์ริงการฝึกให้คิดวิเคราะห์มากขึ้น
การให้ความรู้โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ปรับการเรียนการสอนให้ครอบคลุมผลลัพธ์ 3 ด้านของผู้เรียน
การพัฒนาการสร้างนวัตกรรม
เปลี่ยนการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยโดยการให้ครอบครัวมีส่วนร่วม
ส่งเสริมให้มีการศึกษาอย่างต่อเนื่อลของผู้บริหาร
ควรมีการจับคู่ train ระหว่างพยาบาลจบใหม่กับพยาบาลที่มีประสบการณ์
จัดอบรม ทบทวน และสอบวัดผลภาษาอังกฤษของพยาบาล
พัฒนานวัตกรรมที่มีคุณภาพและประสบความสำเร็จในการดำเนินการทำโดยการบรูณาการ ความรู้ของระเบียบวิจัยทางคลินิกร่วมกับการดำเนินการวิจัยขณะปฏิบัติงานประจำ Routine to Research (R to R)
ลักษณะ
ประสิทธิการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาต่ำ
ความเลื่อมล้ำทางการศึกษา
คุณภาพการศึกษาต่ำ
การเมือง
ผลกระทบ
การศึกษา
นำกฎหมายมาให้ความรู้กับนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษา
ตระหนักถึงสิทธิของผู้ป่วยที่ควรจะได้รับตามกฎหมาย
การศึกษาเกี่ยวกับระบบ ประกันสังคมในต่างประเทศ เพื่อนำมาพัฒนาระบบประกันสังคมใน ประเทศไทยให้ดีย่ิงข้ึน
บริการ
ขาดอัตรากาลังเนื่องจากพยาบาลลาออก
ขาดขวัญและกำลังใจทางด้านค่าตอบแทนและภาระงาน
ภาระงานของพยาบาลเพิ่มมากขึ้น
วิจัย
ทำวิจัยเกี่ยวกับการปลูกถ่ายstem cell
บริหาร
ส่งผลให้การบริการมีมาตรฐานมากยิ่งข้ึนและลดการเกิดความ เสียหายต่อผู้บริการ โดยต้องเพิ่มมาตรฐานการบริการให้สูงขึ้น
แนวทางการพัฒนาและแนวโน้ม
ส่งพยาบาลไปอบรมสาขาเฉพาะทาง ระยะสั้น
สร้างแนวทางปฏิบัติการพยาบาล
ให้สวัสดิการด้านท่ีพัก เครื่องแบบ ทุนการศึกษา
สร้างแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรค
เพิ่มค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับภาระงาน
เพิ่มความรู้และทักษะเกี่ยวกับการส่งเสริม สุขภาพ
จัดหาอัตรากาลังพยาบาลท่ีต้องการ
บริการสุขภาพแบบเชิงรุก
สังคม
ผลกระทบ
บริการ
การเข้าถึงบริการสุขภาพยากและล่าช้า
เกิดการฟ้องร้อง
ความต้องการการบริการทางสุขภาพมากขึ้น
บริหาร
วัสดุ อุปกรณ์ และงบประมาณค่าใช้จ่ายสูง
บุคลากรไม่เพียงพอ มีความขัดแย้ง ขาดการเรียนรู้ภาษา
ขาดการประสานงานและติดตามงานระหว่างองค์กรต่าง ๆ ทุกระดับที่ให้การช่วยเหลือ
การศึกษา
ขาดความรู้ ทักษะ ในการปฏิบัติการ และขาดความรู้ด้านภาษา
ขาดการประยุกต์ใช้ และการผสมผสาน ขาดการนำภูมิปัญญามาประยุกต์
มีการจัดหลักสูตรการศึกษาแบบเฉพาะทางไม่พอ เน้นวิชาการมากกว่าปฏิบัติ
วิจัย
ขาดการนำผลการวิจัยไปรองรับการให้การพยาบาล (Evidence Base)
ขาดการวิจัยเกี่ยวกับการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้
วิจัยเฉพาะทางด้านผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่น ไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย
ขาดนวัตกรรมในการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟูในผู้สูงอายุ
แนวทางการพัฒนาและแนวโน้ม
จัดให้มีการให้บริการด้านการพยาบาลที่เฉพาะ ความต้องการการดูแลผู้สูงอายุ
เพิ่มช่องทางการเข้ารับบริการให้เข้าถึงง่ายขึ้น เช่น เว็บไซต์ โทรศัพท์
พัฒนาระบบการส่งต่อแบบ Fast track และรักษาร่วมแบบ Video Conference
วางแผนจัดสรรกำลังคนให้เหมาะสมกับงาน
สร้างแรงจูงใจแก่พยาบาล เช่น สวัสดิการ ค่าตอบแทน
เน้นการให้บริการร่วมกันของชุมชน เพื่อดูแลชุมชน โดยการให้บริการแบบ Home ward
ปรับหลักสูตรการศึกษาให้มีเนื้อหาในการดูแลผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน จิตเวช และทักษะทางภาษา ให้มากขึ้น
เน้นการปฏิบัติให้เพิ่มมากขึ้น
ปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอน เน้นการเรียนรู้ปฏิบัติจากสถานการณ์จริง และสถานการณ์จำลอง (Simulation)
เน้นการวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ ในเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังและการดูแลด้านจิตใจของผู้สูงอายุ
งานวิจัยควรเป็นการวิจัยที่ผสมผสานกับการทำงานและการวิจัยไปด้วยกัน เรียกว่า R2R และ R and D
ลักษณะ
ประชากรไทยในอนาคตเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ จนอิ่มตัวแล้วลดลงนั้น เป็นผลเนื่องมาจากภาวะเจริญพันธุ์ที่ลดต่ำลงและคนไทยมีชีวิตยืนยาวขึ้นอีก
เศรษฐกิจ
ผลกระทบ
บริการ
รัฐบาลมีนโยบาย หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าทำให้ให้มีจำนวน ผู้ป่วยมารับบริการเพิ่มขึ้น
พยาบาลมีภาระงาน เพิ่มมากขึ้น เกิดการ บริการท่ีไม่ได้คุณภาพเท่าที่ควร
พยาบาลมีสิทธิสวัสดิการตำ่
บริหาร
มีผลกระทบต่อการจัดซื้อ อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีราคาแพงซึ่งมีความจำเป็น ในการวินิจฉัยและรักษาโรค
รายได้ลดลงและงบประมาณลดลง ก็จะทำให้ พยาบาลขาดแคลน
การศึกษา
เมื่อไม่มี ตำแหน่งที่จะบรรจุให้ก็จะมีการลาออกไป 50% และ อีกไม่นานก็มีการทยอยลาออกไปอีก 30%
วิจัย
ผลักดันให้ไทยเป็น Medical HUB
ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐ ทำให้มีความสนใจใน การทำวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ เลื่อนตาแหน่ง
แนวทางการพัฒนาและแนวโน้ม
สนับสนุนการเป็น Medical Hub
ส่งเสริมให้หน่วยงาน ให้ได้รับการพัฒนา รับรองคุณภาพตามมาตรฐาน
ส่งเสริมให้มีการพัฒนาพยาบาลและ บุคลากรอื่นให้มีความสามารถด้านการสื่อสาร โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ
ประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา ใช้เป็นกรอบคิดในการตัดสินใจในการบริหารงาน
เสริมแรงจูงใจ และสร้างคุณค่าในวิชาชีพ
หากเป็นไปได้ควรเพิ่มตาแหน่งการบรรจุราชการ
เพิ่มหลักสูตรท่ีช่วยลดภาระการทำงานของพยาบาล
เน้นการทำงานวิจัยแบบ R2R คือ การทำงานวิจัยจากงานประจำ เพื่อแก้ปัญหาหน้างาน
ลักษณะ
ระบบที่มีการบริหารจัดการโดยองค์การทางเศรฐฐกิจ ท่ีเก่ียวข้องกับการผลิต การจาหน่ายจ่ายแจก และการบริโภค
ระบบเศรษฐกิจ
เทคโนโลยี
ผลกระทบ
บริการ
ด้านบวก
ทันสมัย
รวดเร็ว
ถูกต้อง
ลดความซ้ำซ้อน
ช่วยตัดสินใจในการดูแลผู้ป่วยที่วิกฤตซับซ้อน
ด้านลบ
ต่อยอดกับทุกหน่วยงานได้ยาก
อุปกรณ์ใช้งานยังไม่มีประสิทธิภาพ
เข้าถึงอาจผิดพลาด
รุกล้ำความเป็นส่วนตัว
บริหาร
ค่าตอบแทนบุคลากรสาธารณสุข
Pay for performance (P4P)
เทคโนโลยีบริหารอุปกรณ์
E-market
บริหารคน/แรงงาน
จัดอัตรากำลังคน
จัดตาราเวร
เทคโนโลยีบริหารจัดการ
Nurse note แบบอิเล็กทรอนิกส์
การศึกษา
สอนให้น้อย เรียนรู้ให้มาก (Teach less, Learn more)
ให้ผู้เรียน เรียนรู้ด้วยตนเอง
ใช้เทคโนโลยีมากจัดการเรียนการสอน
วิจัย
ฐานข้อมูลวารสารออนไลน์
ข้อมูลจาก web, blog
วิทยานิพนธ์ออนไลน์
แนวทางการพัฒนาและแนวโน้ม
ใช้เทคโนโลยีปรึกษาการพยาบาล
ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลการพยาบาลเพิ่มมากขึ้น
ระบบสารสนเทศทางการพยาบาลเชื่อมโยงแต่ละระดับข้อมูล
นวัตกรรมด้านสารสนเทศทางการพยาบาลเพิ่มขึ้น
พยาบาลเพิ่มสมรรถนะใช้เทคโนโลยีและการวิเคราะห์ข้อมูล
ลักษณะ
เทคโนโลยีสื่อสารไม่มีขอบเขต/ข้อจำกัด
เทคโนโลยีมาบูรณาการเชื่อมโยงเครื่อข่ายต่างๆ
ความรวดเร็วในการสื่อสาร