Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case COPD 9133-COPD-_Facts_Statistics_and_You-1296x728-Header (การพยาบาล,…
Case COPD
-
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ผู้ป่วยให้ประวัติว่าสูบบุหรี่มา30ปีและเลิกเป็นเวลา2ปี
ปฏเิสธการใช้แอลกอฮอล์และยาเสพติด
ปฎเิสธการแพ้ยาแพ้อาหาร
-
-
การตรวจพิเศษ
X-ray
พบน้ำในเยื่อหุ้มปอดทั้งสองข้าง
-
-
-
พยาธิสภาพ
เมื่อหลอดลมได้รับการระคายเคืองบ่อย ๆ จะทำให้เยื่อบุหลอดลมโดยเฉพาะต่อมเมือก (Mucous gland) หลังสารคัดหลั่งออกมา ต่อมาเซลล์จะมีขนาดใหญ่และเพิ่มจำนวนมากขึ้นทำให้ผนังหลอดลมหนาตัวขึ้นและความยืดหยุ่นเสียไป ท่อหลอดลมจะตีบแคบลง ผู้ป่วยที่สูบบุหรี่หรือได้รับควันบุหรี่จะทำให้ขนกวัดในเซลล์เยื่อบุหลอดลมเคลื่อนไหวได้น้อยลง ต่อมและเซลล์เมือกไม่สามารถขับมูกจำนวนมากที่เหนียวออกไปได้ ส่วนโรคถุงลมปอดโป่งพองเกิดจากมีการระคายเคืองของเยื่อบุหลอดลมเป็นเวลานาน เมือกที่ฉาบอยู่บนผิวของหลอดลมถูกทำลาย ทำให้ผนังหลอดลมหนาตัวขึ้นและกลายเป็นแผลเป็น ขนกวัดถูกทำลายจึงทำให้สารที่เป็นอันตรายต่าง ๆ รวมทั้งเชื้อแบคทีเรียและไวรัสสามารถแทรกเข้าสู่เซลล์ของหลอดลม มีการอักเสบและสร้างเสมหะออกมามาก และเมื่อกลไกการขับเสมหะตามปกติถูกทำลายไปจะทำให้เสมหะที่สร้างขึ้นนั้นจับตัวกันเป็นก้อนอุดหลอดลมไว้อากาศผ่านเข้าออกจากถุงลมไม่ได้จึงดันให้ถุงลมโป่งออก ถุงลมสูญเสียความยืดหยุ่น คือ ยืดได้หดไม่ได้ เมื่อมีการคั่งของอากาศนาน ๆ เข้าถุงลมจะยิ่งโป่งออกจนมีการฉีกขาดและหลอดเลือดบริเวณนั้นถูกทำลาย พื้นที่ผิวในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนออกซิเจนในเลือดจะต่ำลง หัวใจซีกขวาต้องทำงานหนักซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดหัวใจซีกขวาล้มเหลว เรียกภาวะนี้ว่าคอร์พูลโมเนล (Cor pulmonale)
การรักษา
on BIPAP
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน (tissue hypoxia) เนื่องจากาวะหลอดลมหดเกร็งและมีเสมหะปริมาณมากทำให้การระบายอากาศลดลง
-
-
-
ผู้ป่วยหญิงอายุ 60 ปีมาที่แผนกฉุกเฉินด้วยอาการหายใจถี่อย่างเฉียบพลัน อาการเริ่มขึ้นประมาณ 2 วันก่อนหน้าและแย่ลงเรื่อย ๆ
การพยาบาล
-
จัดให้นอนในท่าศีรษะสูงอย่างน้อย 30-45° เพื่อให้กะบังลมหย่อนตัวและเพิ่มปริมาตรในช่องอก ทำให้ปอดสามารถขยายตัวได้ดีขึ้น
-
เฝ้าระวังและประเมินอาการแสดงของภาวะ CO2 narcosis เช่น ซึมลง หายใจช้าลงเรื่อยๆ (RR < 14 ครั้ง/นาที) หรือหยุดหายใจ SaO2 < 88 % หรือ > 92 % ควรรีบรายงานแพทย์
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะ hypoxia เช่น กระสับกระส่าย สับสน ระดับความรู้สึกตัวลดลง หายใจเร็ว-ตื้น หอบ เหนื่อย ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ ปลายมือปลายเท้าเย็น ริมฝีปากเขียวคล้ำ ประเมินอย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง
-
-
-
-
-
แนะนำและฝึกการหายใจอย่างลึก (deep breathing exercise) ทำอย่างน้อย
วันละ 3 รอบ รอบละ 10 ครั้ง เพื่อส่งเสริมการระบายอากาศและการแลกเปลี่ยนก๊าซ
แนะนำการไออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective cough) โดยหายใจเข้าออกลึกๆ 2-3 ครั้ง หลังจากนั้นให้หายใจเข้าลึกๆเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง กลั้นหายใจสักครู่ หายใจออกพร้อมไอออกมาแรงๆ 2-3 ครั้งติดต่อกัน ระหว่างไอ ควรประเมินอาการเหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก
ส่งเสริมให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 2,000 มิลลิลิตร (ถ้าไม่ขัดต่อโรคและการรักษา)