Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia No 3 ดาวน์โหลด (การพยาบาลในผู้ป่วยรายนี้ (. ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก…
Pneumonia No 3
กรณีที่ 3 ผู้ป่วยเพศชาย อายุ 35 ปีที่ติดแอลกอฮอล์อายุ มีประวัติชัก เป็นไข้มาสามสัปดาห์มีอาการอ่อนเพลียทั่วไป มีความอยากอาหารลดลงและมีเสมหะสีเขียวมีกลิ่นเหม็น ในการตรวจร่างกายอุณหภูมิ 100.3 องศาเซลเซียล Pคือ 96 ครั้งต่อนาที R 20 ครั้งต่อนาทีและ BP 120/80 มม. มีฟันหายไปจำนวนมากมีเหงือกอักเสบและมีฟันผุ เขามี rales และเสียงลมหายใจผิดปกติทรวงอก x-ray แสดงให้เห็นถึงแสงทึบในส่วนที่เหนือกว่าของกลีบล่างขวา
ขนาดฝีในปอดของโรคปอดบวม
ฝีในปอด ส่วนใหญ่ฝีจะเกิดจากการติดเชื้ออย่างรุนแรง โดยมีการทำลายเนื้อปอดจนเกิดเป็นโพรงขึ้น ซึ่งการรักษาจะใช้ยาปฏิชีวนะร่วมไปกับการระบายหนองออกจากปอด
ภาพถ่ายทางคลิกนิกของผู้ป่วยนี้
x-ray แสดงให้เห็นถึงแสงทึบในส่วนที่เหนือกว่าของกลีบล่างขวา
อธิบายการเกิดโรคของโรคปอดบวมนี้
ผู้ป่วยปอดอักเสบ มีการติดเชื้อในทางเดินหายใจ เชื้อที่อยู่ในเสมหะหรือเมือกในทางเดินหายใจส่วนต้นจะแพร่เข้าสู่ถุงลมซึ่งภายในถุงลมจะมีกลไรการป้องกันตามปกติของร่างกาย เช่น การโบกปัดของซิเลียและการไอเพื่อขจัดเชื้อในเสมหะหรือเมือกออกไป ขณะเดียวกันแมกโครฟาจจะทำลายเชื้อโลกที่อยู่ในถุงลมและซิเลียจะโบกปัดขับออกโดยการไอเพื่อขับเชื้อออกทางเสมหะหรือกลืนลงสู่กระเพาะอาหาร แต่ถ้าร่างกายไม่มีกลไกดังกล่าวปอดจะมีการอักเสพโดยมีการสร้างน้ำและเมือกเพิ่มขึ้นบริเวณถุงลมและไหลเข้าสู่หลอดลมฝอยทำให้เนื้อที่ในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงและยังมีการขจัดเชื้อโรคออกไปยังต่อมน้ำเหลืองและกระแสเลือดเพื่อขจัดออกจากร่างกาย ซึ่งจะมีเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดงมารวมตัวบริเวณที่มีการอักเสบมากขึ้น ทำให้บริเวณถุงลมแคบลงและมีลักษณะแข็งน้ำและเมือกที่ติดเชื้อจะแพร่กระจายไปยังปอดส่วนอื่น ทำให้ผู้ป่วยมีไข้ ไอ อาจมีเสมหะร่วมด้วยซึ่งขึ้นอยู่กับสาเหตุของปอดอักเสบ หากปอดอักเสบรุนแรงอาจถึงแก่ชีวิตได้โดยเฉพาะผู้สูงอายุ
ภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อ
ฝีในปอด ส่วนใหญ่ฝีจะเกิดจากการติดเชื้ออย่างรุนแรง โดยมีการทำลายเนื้อปอดจนเกิดเป็นโพรงขึ้น ซึ่งการรักษาจะใช้ยาปฏิชีวนะร่วมไปกับการระบายหนองออกจากปอด
เชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย จนเชื้ออาจแพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือดและแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น ๆ ซึ่งอาจทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อหุ้มสมอง เยื่อบุหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ และมีอาการข้ออักเสบ
การพยาบาลในผู้ป่วยรายนี้
. ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงหรือตามความเหมาะสมและบันทึกข้อข้อมูลและสังเกตอาการดังนี้คือ
-อาการไข้สูงความดันโลหิตลดลงอาจเนื่องมาจากช็อกจากการติดเชื้อสำหรับผู้ป่วยรายนี้พบว่าอาการไข้ลดลงและความดันโลหิตปกติ
อาการหายใจลำบากนอนราบไม่ได้ไอมีเสมหะเป็นฟองโลหิตจางๆอาจเกิดจากปอดบวมน้ำสำหรับผู้ป่วยรายนี้พบว่าไม่มีอาการแสดงของอาการหายใจลำบากไอมีเสมหะสีขาวไม่มีฟองโลหิตแต่ยังนอนราบไม่ได้เพราะมีอาการหอบเหนื่อยอยู่
-อาการหายใจลำบากนอนราบไม่ได้ไข้สูงแม้จะให้ยาปฏิชีวนะแล้วก็ตามอาจเกิดจากมีหนองในเยื่อหุ้มปอดปอดแฟบเป็นฝีในปอดหรือหัวใจวายสำหรับผู้ป่วยรายนี้หลังจากให้ยาปฏิชีวนะคือ Ceftriaxone I gm เข้าทางหลอดเลือดดำทุก12ชั่วโมงไข้ที่สูงอยู่นั้นลดลง
ในระยะพักฟื้นจะต้องป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆเนื่องจากภูมิต้านทานร่างกายลดลง
-เมื่อไข้ลดแล้วกระตุ้นให้ผู้ป่วยลุกเดินได้ตามปกติเพื่อให้สภาพของร่างกายกลับคืนสู่ปกติได้เร็วขึ้น
-ทำความสะอาดร่างกายและปากฟันหลังจากรับประทานอาหารเพื่อป้องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
-ดูแลร่างกายผู้ป่วยให้อบอุ่นไม่เปียกชื้นและอยู่ในห้องที่อากาศถ่ายเทดี
เตรียมอุปกรณ์ช่วยชีวิตผู้ป่วยในภาวะฉุกเฉิน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการสำลักของเคสนี้
ฟันหายไปเป็นจำนวนมาก
ปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุของโรคปอดอักเสบของผู้ป่วยรายนี้?
ผู้มีอายุ 2-65 ปี
มีภูมิคุ้มกันผิดปกติ จากยาเช่น สเตียรอยด์, ยากดภูมิ, ยาต้านมะเร็งบางชนิด, ได้รับการฉายรังสี หรือเป็นจากตัวโรคเองเช่น โรคไตวาย, , มะเร็ง, ไม่มีม้ามหรือม้ามไม่ทำงาน, ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะหรือไขกระดูก, ติดเชื้อ HIV
มีปัญหาโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคปอด, โรคหัวใจ เบาหวาน, ตับแข็ง, พิษสุราเรื้อรัง, สภาวะที่มีการรั่วของน้ำไขสันหลัง, ได้รับการปลูกถ่าย cochlear
บุคคลที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคปอดบวม
ผู้มีอายุ 19-64 ปี ที่สูบบุหรี่ หรือเป็นโรคหืด