Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Asthma (สาเหตุ (พันธุกรรม - มีประวัติการเป็นหอบหืดของคนในครอบครัว,…
Asthma
สาเหตุ
-
-
สารเคมี - สารเคมีที่ใช้ในบ้านอาจกระตุ้นให้เกิดอาการมากขึ้น เช่น กลิ่นสี ยาฆ่าแมลง สเปรย์แต่งผม รวมไปถึงควันบุหรี่
การออกกำลังกาย - บางคนเกิดอาการเมื่อต้องออกแรงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึง ออกกำลังกาย โดยเฉพาะในที่ที่มีอากาศเย็น
ภาวะทางอารมณ์ - มักเกิดขึ้นในผู้ที่มีความเครียด ส่งผลให้หายใจผิดปกติโดยไม่รู้ตัว ทำให้หายใจแบบลึกบ้างตื้นบ้างสลับกันไปมา
สารในกลุ่มซัลไฟต์ (Sulfites) และสารกันบูด สารที่เจือปนในอาหารหรือเครื่องดื่มบางชนิด เช่น ผลไม้แห้ง เบียร์ ไวน์
โรคกรดไหลย้อน - ภาวะที่มีกรดในกระเพาะอาหารไหลย้อนขึ้นไปในหลอดอาหาร ผู้ป่วยจะมีอาการแสบร้อนในอก กรดไหลย้อนทำให้ผู้ป่วยที่เป็นหอบหืด มีอาการบ่อยขึ้น และรุนแรงขึ้นได้
-
-
อาการ
มีปัญหาเรื่องการหายใจ ผู้ป่วยหายใจสั้น หายใจลำบาก หรือหายใจไม่อิ่ม หรือหายใจแล้วมีเสียงวี้ด ซึ่งสร้างความทรมานให้กับผู้ป่วยเป็นอย่างมาก
-
-
มีปัญหาในการนอนหลับ โดยปัญหามาจากการหายใจลำบาก หรือการหายใจติดขัด ส่งผลให้หลับไม่สนิท หรือหลับไม่เต็มอิ่ม
-
-
-
การพยาบาล
1ประมินภาวะพร่องออกซิเจนจกระดับความรู้สึกตัวลักษณะกาหายใจอาการหอบเหนื่อยการตรวจสภาพสีผิวปลายมือปลายเท้าตกจวัตสัญญาณชีพทุก24ชั่วโมงตามสภาพผู้ปวยเพื่อจะได้ให้การพยาบาลผู้ป่วยได้ทันท่วงที่
-
- Suction tel aiway-เมื่อมีความจำเป็นเพื่อให้ทางดินหายใจโล่งลดการอุดกั้นของเสมหะที่ห่อทางเดินหายใจเพิ่มประสิทธิภาพในการหายใจ
- วัดประมิน VS ทุกข์โมงประมินระดับความรู้สึตัวภวะพร่องออกซิเจนฟังปอดวัด02saturatonเพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงผู้ป่วย
- ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอลตการทำกิจกรรมเพื่อลดการใช้ออกซิเจน
-
การวินิจฉัย
สไปโรเมทรีย์ (Spirometry) เป็นเครื่องตรวจสมรรถภาพปอด ซึ่งเป็นการตรวจวัดปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอด
พีค โฟลว์ มิเตอร์ (Peak Flow Meter) เป็นเครื่องวัดความเร็วสูงสุดของลมที่เป่าออกได้ ใช้เพื่อวัดสมรรถภาพของปอด
การทดสอบทางหลอดลม (Bronchial Provocation Test) เป็นการวัดความไวของหลอดลมต่อสิ่งกระตุ้น เพื่อวินิจฉัยว่าเป็นโรคหืดหรือไม่ จะใช้เมื่อทดสอบโดย 2 วิธีการแรกแล้วยังไม่สามารถวินิจฉัยได้ โดยใช้สารกระตุ้นเช่น สารเมธาโคลีน (Methacholine) มาใช้ในการทดสอบสมรรถภาพของปอด
การใช้เครื่องตรวจวัดความอิ่มตัวออกซิเจนของฮีโมโกลบินในชีพจร (Pulse Oximetry) ช่วยให้สามารถวัดประเมินภาวะการขาดออกซิเจนได้อย่างรวดเร็ว
การรักษา
ยาที่ใช้ควบคุมโรคหืด (Controllers) ต้องใช้เป็นประจำเพื่อการรักษาอาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ยาที่มีประสิทธิภาพดีที่สุดคือยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูด (Inhaled Corticosteroid) และยังมียากลุ่มอื่น ๆ ที่สามารถใช้ได้ เช่น ยาต้านลิวโคไทรอีน (Leukotriene Modifier Antagonist) เป็นต้น
ยาที่ใช้บรรเทาอาการโรคหืด (Relievers)ได้แก่ ยาพ่นขยายหลอดลมชนิดเบต้า 2 (Beta2-agonists) มีผลให้กล้ามเนื้อเรียบในหลอดลมคลายตัว หากผู้ป่วยมีการใช้ยาพ่นชนิดบรรเทาอาการบ่อยครั้งหรือเป็นประจำ จะเป็นข้อบ่งชี้ว่ามีอาการเรื้อรังและการควบคุมอาการนั้นอาจไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร
โรคหอบหืดเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ดังนั้นเป้าหมายของการรักษา คือควบคุมอาการให้เป็นปกติได้นานที่สุด ให้อาการสงบ และให้ผู้ป่วยมีชีวิตเป็นปกติสุข ด้วยการมีสมรรถภาพปอดใกล้เคียงปกติมากที่สุด
พยาธสภาพ
หลอดลมอักเสบจากเชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ทางเดินหายใจของผู้ป่วยการทำงานของ cilia ภายในหลอดลมมีประสิทธิภาพลดลงทำให้มีสารคัดหลั่งเพิ่มขึ้นแบคทีเรียเข้าสู่หางเดินหายใจมากขึ้นมีการอักเสบของเยื่อบชั้น muc0a ของหลอดลมฝอยบานและผนังหลอดลมฝอยหนาขึ้น