Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case COPD ผู้ป่วยหญิงอายุ 60 ปี ((4.เฝ้าระวังเเละประเมินอาการแสดงของภาวะ…
Case COPD ผู้ป่วยหญิงอายุ 60 ปี
2.CMV การตรวจหาสารเคมีในร่างกาย
3.Chest X-ray การตรวจเอกซเรย์ทรวงอก เป็นการเอกซเรย์ดูความผิดปกติของปอดเเละอวัยวะบริเวณช่องอก
1.EKG
4.เฝ้าระวังเเละประเมินอาการแสดงของภาวะ CO2 narcosis เช่นซึมลง หายใจช้าลงเรื่อยๆ (RR 14 ครั้ง/นาที) หรือหยุดหายใจ
5.ประเมินอาการเเละอาการเเสดงของภาวะ hypoxia เช่น กระสับกระส่าย ระดับความรู้สึกตัวลดลง หายใจเร็ว-ตื้น หอบ เหนื่อย ใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ ปลายมือปลายเท้าเย็น ริมฝีปากเขียวคล้ำ ประเมินอย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง
3.จัดท่านอนในท่าศีรษะสูงอย่างน้อย 30-40 องศา ทำให้ปอดขยายตัวได้ดียิ่งขึ้น
6.ดูเเลให้ยาขยายหลอดลมตามเเผนการรักษาและเฝ้าระวังผลข้างเคียงของยา
2.ดูเเลให้ O2 ตามเเผนการรักษา
7.ดูเเลให้ยาปฏิชีวนะตามเเผนการรักษาและเฝ้าระวังผลข้างเคียงของยา หากมีไข้ให้ยาลดไข้ตามเเผนการรักษาเเละเช็ดตัวลดไข้
1.Record vital sign และ O2Sat ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อประเมินอาการผิดปกติ
8.ติดตามผล WBC / Chest X-ray / Sputum culture ถ้าผิดปกติรายงานเเพทย์
2.มีภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากพื้นที่เเลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
3.ความทนในการปฏิบัติกิจกรรมลดลงเนื่องจากหายใจเหนื่อยง่ายและอ่อนเพลีย
1.ไม่ตระหนักในการดูเเลสุขภาพตนเองเนื่องจากขาดความรู้เรื่องปอดอุดกั้น
หายใจลำบาก
ผิวหนังเเห้ง
อ่อนเพลีย
บวมกดบุ๋ม 2+ ที่ขา 2 ข้าง
หายใจถี่ขึ้น
สูบบุหรี่มาประมาณ 30 ปี เลิกสูบเมื่อ 2 ปีก่อน
เมื่อหลอดลมได้รับการระคายเคืองบ่อยๆจะทำให้เยื่อบุหลอดลมโดยเฉพาะต่อมเมือก (Mucous gland) หลั่งสารคัดหลั่งออกมา ต่อมมาเซลล์จะมีขนาดใหญ่เเละเพิ่มจำนวนมากขึ้นทำให้ผนังหลอดลมหนาตัวขึ้นเเละความยืดหยุ่นเสียไป ท่อหลอดลมจะตีบเเคบลง ผู้ป่วยที่สูบบุหรี่หรือได้รับควันบุหรี่จะทำให้ขนกวัดในเซลล์เยื่อบุหลอดลมเคลื่อนไหวได้น้อยลง ต่อมเเละเซลล์เมือกไม่สามารถขับมูกจำนวนมากที่เหนียวออกไปได้ ส่วนโรคถุงลมปอดโป่งพองเกิดจากมีการระคายเคืองของเยื่อบุหลอดลมเป็นเวลานาน เมือกที่ฉาบอยู่บนผิวของหลอดลมถูกทำลาย ทำให้ผนังหลอดลมหนาตัวขึ้นและกลายเป็นแผลเป็น ขนกวัดถูกทำลายจึงทำให้สารที่เป็นอันตรายต่างๆรวามทั้งเชื้อแบคทีเรียและไวรัสสามารถแทรกเข้าสู้เซลล์ของหลอดลมมีการอักเสบเเละสร้างเสมหะออกมาและเมื่อกลไกขับเสมหะตามปกติถูกทำลายไปจะทำให้เสมหะที่สร้างขึ้นนั้นจับตัวกันเป็นก้อนอุดหลอดลมไว้อากาศผ่านเข้าออกจากถุงลมไม่ได้จึงดันให้ถุงลมโป่งออก ถุงลมเสียความยืดหยุ่น คือ ยืดได้หดได้ เมื่อมีการคั่งของอากาศนานๆเข้าถุงลมจะยิ่งโป่งออกจนมีการฉีกขาดเเละหลอดเลือดบริเวณนั้นถูกทำลาย พื้นที่ผิวในการเเลกเปลี่ยนก๊าชลดลง มีการคั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนออกซิเจนในเลือดจะลดลง หัวใจซีกขวาต้องทำงานหนักซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดหัวใจซีกขวาล้มเหลว เรียกภาวะนี้ว่าคอร์พูลโมเนล (Cor pulmonale)
2.ให้อาหารทางสายยาง NG Tube
3.ใส่ท่อช่วยหายใจ
1.เครื่องช่วยหายใจ BiPAP
4.Breo Ellipta 100-25 mcg, hydraiazine 50 mg,levothyroxine 175 mcg
การวินิจฉัย
กิจกรรมการพยาบาล
ข้อวินิจฉัย
สาเหตุ
อาการ
พยาธิสภาพ
การรักษา
นายวรรณกร ภูยืด UDA6080102
: