Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 วัฒนธรรมอีสาน (ความหลากหลายของประชากรและชาติพันธุ์…
หน่วยที่ 9 วัฒนธรรมอีสาน
วิถีชีวิตคนอีสานกับศาสนาและความเชื่อ
ประวัติศาสตร์และศาสนา
สมัยพุทธศตวรรษที่ 12-15 (ร่วมสมัยทวารวดี)
เสมาหิน ศิลาจารึกอักษรปัลลวะ
สมัยพุทธศตวรรษที่ 15-18 (สมัยขอมพระนคร)
ปราสาทหินขนาดใหญ่ ศิลาจารึกอักษรขอม
สมัยพุทธศตวรรษที่ 20-23 (สมัยอิทธิพลอาณาจักรล้านช้าง)
ศิลาจารึก ตัวอักษรธรรมและอักษรไทยน้อย
สมัยพุทธศตวรรษที่ 24-25 (สมัยอิทธิพลราชธานีไทย)
ยึดอาณาจักรล้านช้าง
สมัยรัชกาลที่ 5 สมัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
ส่งข้าหลวงกำกับราชการท้องถิ่น
ความเชื่อ
ผีพระยาแถน
วิญญาณบรรพบุรุษ ประจำหมู่บ้าน
การเกษตร : ผีตาแฮก
ประเพณีฮีตสิบสอง
เดือนอ้าย
บุญข้าวกรรม
เดือนยี่
บุญคูณลาน
เดือนห้า
บุญทรงน้ำ
เดือนสาม
บุญข้าวจี่
เดือนสี่
บุญผะเหวด
เดือนหก
บุญบั้งไฟ
เดือนเจ็ด
บุญชำฮะ
เดือนแปด
บุญเข้าพรรษา
เดือนเก้า
บุญข้าวประดับดิน
เดือนสิบ
บุญข้าวสาก
เดือนสิบเอ็ด
บุญออกพรรษา
เดือนสิบสอง
บุญกฐิน
ความหลากหลายของประชากรและชาติพันธุ์
ชาวลาวหรือไทยอีสาน
กวยหรือกูย
เขมร
พูไทยหรือผู้ไทย
ย้อ
โย้ย
กะเลิง
กะโซ
แสก
ตองสู่หรือตองซู่
ญัฮกุรหรือเนียะกุล
ไทยโคราช
ไทยดำ
ชาวจีน
ชาวญวน
พหุวัฒนธรรมของอีสาน
ชาติพันธุ์
วิถีชีวิต
ภาษา
จารีต ประเพณี
ความเชื่อ
ศาสนา