Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CA lung with pneumonia:pencil2: (ยา (Inhalex forte 4 ml พ่นครั้งละ 1 หลอด…
CA lung with pneumonia:pencil2:
พยาธิสภาพของโรค
Pneumonia
ลักษณะของโรค
ปอดอักเสบ เป็นโรคที่พบได้ประมาณร้อยละ 8-10 ของผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อเฉียบพลันในระบบหายใจ ซึ่งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของโรคติดเชื้อในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เกิดจากสาเหตุหลัก 2 กลุ่ม คือ ปอดอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อและปอดอักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ โดยทั่วไปพบปอดอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อมากกว่า
ชนิดโดยแบ่งตามสิ่งแวดล้อมที่ได้รับเชื้อ
ตามทฤษฎี
ปอดอักเสบในชุมชน หมายถึงปอดอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อที่เกิดนอกโรงพยาบาลโดยไม่รวมปอดอักเสบที่เกิดขึ้นหลังจำหน่ายผู้ป่วยออกจากโรงพยาบาลภายในเวลาไม่เกิน 2 สัปดาห์
ปอดอักเสบในโรงพยาบาล หมายถึงปอดอักเสบจากการติดเชื้อที่เกิดขึ้นหลังจากผู้ป่วยนอนรักษาในโรงพยาบาลแล้วอย่างน้อย 48-72 ชั่วโมง
สาเหตุ
ตามทฤษฎี
ตามกลุ่มอายุ
แรกเกิดถึง 3 เดือน
แบคทีเรีย
Streptococcus pneumoniae
Escherichia coli
Staphylococcus aureus
group B. Streptococcus
ไวรัส
Chlamydia trachomatis
3 เดือนถึง 5 ปี
Respiratory syncytial virus
Streptococcus pneumoniae
Haemophilus influenzae
มากกว่า 5 ปี
Mycoplasma pneumonia
Streptococcus pneumoniae
ตามสิ่งแวดล้อมที่ได้รับเชื้อ
ในชุมชน
Streptococus pneumoniae
Haemophilus influenzae
Mycoplasma pneumoniae
Legionella spp.
ในโรงพยาบาลระยะแรก
(อยู่ในโรงพยาบาล 2-5 วัน)
Methicillin-sensitive Staphylococcus aureus
Haemophilus influenzae
Streptococcus pneumoniae
Klebsiella spp.
Enterobacter spp.
Escherichia coli
Proteus spp.
Serratia marcescens
ในโรงพยาบาลระยะหลัง
(อยู่ในโรงพยาบาล > 5 วัน)
Methicillin-resistant Staphylococcus aureus
Pseudomonas aeruginosa
Acinetobacter spp.
Enterobacter spp.
ผู้ป่วยในความดูแล
Hemoculture พบ Klebsella pneumoniae
ผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ นอนนานๆ อยู่บนเตียง
ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ จึงต้องใส่
Nasogastric tube และมีประวัติเคยสําลักอาหาร
อาการและอาการแสดง
ตามทฤษฎี
ฟังเสียงปอดอาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ (crepitations) อาจได้ยินเสียง rhonchi ร่วมด้วย ในกรณีที่พยาธิสภาพเป็นแบบ consolidation อาจได้ยินเสียง bronchial breath sound
ไข้ ไอ หายใจเร็วอาจมีอาการหอบ หายใจลำบาก
มีอาการแสดงอื่นๆที่ไม่จำเพาะ เช่น ท้องอืด อาเจียน ซึมโดยเฉพาะเด็กเล็ก
ผู้ป่วยในความดูแล
ผู้ป่วยมาโรงพยาบาลด้วยอาการหายใจหอบเหนื่อย 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
ฟังเสียงปอดได้ยิน crepitation ( 09/10/62 )
การวินิจฉัย
ตามทฤษฎี
ฟังปอดได้ยินเสียง crepitations หรือ bronchial breath sounds
ภาพรังสีทรวงอก ช่วยยืนยันการวินิจฉัยในผู้ป่วยที่ประวัติและการตรวจร่างกายไม่ชัดเจน
จากอาการแสดงคือ ไข้ ไอ หายใจเร็ว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การย้อมเสมหะ (sputum หรือ nasopharyngeal aspiration) gram stain เป็นวิธีที่มีความไว (sensitive) แต่ไม่จำเพาะ (specific) ต่อเชื้อที่เป็นสาเหตุ อาจเป็นแนวทางคร่าวๆ ถึงเชื้อก่อโรค
การเพาะเชื้อจากเลือด (hemoculture) ควรทำเฉพาะรายที่เป็นรุนแรง เชื้อที่มักก่อให้เกิดการติดเชื้อในกระแสโลหิตได้แก่ Streptococcus pneumoniae, Haemophilus influenzae
การตรวจเสมหะเพาะเชื้อ มีความไวและความจำเพาะต่ำ
การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด ควรทำทุกรายแม้จะไม่สามารถใช้แยกสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสได้ชัดเจน กรณีที่พบ neutrophil สูงมากและมี toxic granules ช่วยสนับสนุนว่าเป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย
ผู้ป่วยในความดูแล
ตรวจเสมหะพบเชื้อ Few pseudomonas aeruginosa
Chest x-ray พบ infiltration ที่ปอดทั้งสองข้าง
ฟังเสียงปอดได้ยิน crepitation ( 09/10/62 )
การรักษา
ตามทฤษฎี
การรักษาจำเพาะ
ในรายที่เป็นโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัส ไม่มียารักษาที่จำเพาะควรให้การรักษาแบบประคับประคอง และบำบัดรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสม
ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะเร็วที่สุดทันทีที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย การพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะควรเลือกใช้ตามเชื้อที่คิดว่าเป็นสาเหตุ และมีข้อมูลทางคลินิคและทางระบาดวิทยาของท้องถิ่นนั้นๆ
การรักษาทั่วไป
ให้สารน้ำให้เพียงพอ แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ ในรายที่หอบมาก ท้องอืด รับประทานอาหารไม่ได้ พิจารณาให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและงดอาหารทางปาก
ให้ออกซิเจนในรายที่มีอาการเขียวหายใจเร็ว หอบชายโครงบุ๋ม กระวนกระวาย หรือซึม
ใช้ยาขยายหลอดลมในรายที่ได้ยินเสียง wheeze หรือ rhonchi และมีการตอบสนองต่อยาขยายหลอดลม
พิจารณาให้ยาขับเสมหะ หรือยาละลายเสมหะในกรณีที่ให้สารน้ำเต็มที่แต่เสมหะยังเหนียวอยู่ ไม่ควรให้ยากดอาการไอโดยเฉพาะในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี
ทำกายภาพบำบัดทรวงอก (chest physical therapy) เพื่อช่วยให้เสมหะถูกขับออกจากปอดและหลอดลมได้ดีขึ้น
การรักษาอื่นๆ ตามอาการ ได้แก่ ให้ยาลดไข้
ผู้มีภาวะหายใจล้มเหลวหรือหยุดหายใจพิจารณาใส่ท่อหลอดลมและเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยในความดูแล
มีการใส่ ICD ที่ Lt lung เพื่อระบายทรวงอก
on oxygen collar mask 2 LPM
CA lung
ปัจจัยเสี่ยงในการเกิด
ตามทฤษฎี
การสูบบุหรี่ / อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีควันบุหรี่
อายุ ประมาณ 2/3 ของผู้ป่วยมะเร็งปอดได้รับการวินิจฉัยเมื่ออายุตั้งแต่ 65 ขึ้นไป
การสัมผัสกับก๊าซเรดอน ( ธาตุกัมมันตรังสีที่เป็นก๊าซเฉื่อย )
การสัมผัสสารก่อมะเร็ง
หายใจเอาแร่ใยหินหรือควันจากท่อไอเสียเข้าสู่ร่างกาย
การหายใจหรือบริโภคสารเคมีบางชนิด เช่น อาเซนิค ถ่านหิน
การรักษาด้วยการฉายแสงที่ทรวงอก
มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคมะเร็งปอด
มลภาวะทางอากาศ
ผู้ป่วยในความดูแล
ผู้ป่วย อายุ 70 ปี
อาการและอาการแสดง
ตามทฤษฎี
ไอเรื้อรัง
ไอพร้อมมีเลือดออกมา
เจ็บหน้าอก
หายใจได้สั้นๆ
น้ำหนักลดโดยหาสาเหตุไม่ได้
เหนื่อยง่ายอ่อนแรง
ผู้ป่วยในความดูแล
ผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย
การตรวจวินิจฉัย
ตามทฤษฎี
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อวิเคราะห์ ( Biopsy )
การใช้เข็มขนาดเล็กตัดชิ้นเนื้อ ( fine-needle aspiration )
การส่องกล้องตรวจภายในหลอดลม ( Bronchoscopy )
การใช้เข็มเจาะช่องเยื่อหุ้มปอดแทงผ่านผนังทรวงอก ( thoracentesis )
การตรวจช่องกลางทรวงอกโดยการส่องกล้อง ( mediastinoscopy )
การตรวจช่องทรวงอกโดยการส่องกล้อง ( thorocoscopy )
การตรวจวินิจฉัยด้วยรังสี
การตรวจด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ ( CT scan )
การตรวจโดยใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ( MRI )
การตรวจด้วยเครื่อง PET scan ( positron emission tomography scan )
การรักษา
ตามทฤษฎี
รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชนิดเซลล์เล็ก ( small cell lung cancer : SCLC )
การรักษาด้วยเคมีบำบัดเป็นการรักษาที่จำเป็นในผู้ป่วยกลุ่มนี้ เนื่องจากการแพร่กระจายของโรคไปยังอวัยวะอื่นๆรวดเร็วมาก
ในผู้ป่วยที่โรคยังไม่แพร่กระจาย การรักษาด้วยเคมีบำบัดควบคู่กับการฉายแสงจะให้ผลการรักษาที่ดีกว่าการรักษาด้วยเคมีบำบัดเพียงอย่างเดียว
รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชนิดเซลล์ไม่เล็ก (non-small cell lung cancer : SCLC)
การรักษาจะขึ้นกับชนิดของเนื้อเยื่อมะเร็ง ระยะของโรค และระดับความสามารถของผู้ป่วย
ในผู้ป่วยที่ระยะการดำเนินไปของโรคยังไม่มากและไม่มีการแพร่กระจายของโรค การรักษามักทำโดยการผ่าตัด การฉายแสงหรือเคมีบำบัด
ในผู้ป่วยที่มะเร็งปอดอยู่ในระยะลุกลาม มักจะได้รับการตรวจการกลายพันธุ์ของยีนร่วมด้วย โดยผู้ป่วยที่มีการกลายพันธุ์ของยีนควรได้รับการรักษาด้วยการรักษาแบบเฉพาะเจาะจง (targeted therapy) และผู้ป่วยที่ไม่พบการกลายพันธุ์ของยีนควรได้รับการรักษาด้วยเคมีบำบัด
การจำแนกระยะ
ระยะของมะเร็งปอดชนิดเซลล์ขนาดเล็ก ( small cell lung cancer )
ระยะจำกัดของขนาดมะเร็ง ( limited stage )
ระยะการแพร่กระจาย ( extensive stage )
ระยะของมะเร็งปอดชนิดเซลล์ที่มีขนาดไม่เล็ก ( non-small cell lung cancer )
ระยะ 1
มะเร็งเฉพาะที่บริเวณปอดเท่านั้น
ระยะ 2A
มะเร็งมีขนาดเล็กและพบแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วปอด
ระยะ 2B
มะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้นเล็กน้อย
เซลล์มะเร็งมีการแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่น
ระยะ 3A
มีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองในบริเวณอื่นที่ห่างจากปอด
เซลล์มะเร็งได้แพร่กระจายไปยังผนังทรวงอกหรือบริเวณกลางช่องอก
ระยะ 3ฺB
มีของเหลวที่มีเซลล์มะเร็งอยู่รอบๆปอด
แพร่กระจายไปที่ต่อมน้ำเหลืองอีกด้านของช่องอก
มีเนื้องอกมากกว่า 1 ก้อนในปอด
ระยะ 4
มะเร็งได้กระจายไปยังส่วนอื่นๆของร่างกาย
ตับ
กระดูก
สมอง
การวินิจฉัยโรค
Culture & Sensitivity ( Specimen : sputum )
Few pseudomonas aeruginosa ( 9 ตุลาคม 62 )
Gram's stain ( Specimen : Pleural fluid )
No microorganism found ( 17 ตุลาคม 62 )
Culture & Sensitivity ( Specimen : Pleural fluid )
No growth after 3 days ( 17 ตุลาคม 62 )
Complete blood count ( 17 ตุลาคม 62 )
WBC 14980 /uL
สูงกว่าปกติ
Neutrophil 84.3 %
สูงกว่าปกติ
Lymphocyte 13 %
ต่ำกว่าปกติ
Monocyte 2.4 %
ต่ำกว่าปกติ
Eosinophil 0.1 %
ต่ำกว่าปกติ
ปัญหาทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน
มีแผล pressure sore ที่บริเวณ coccyx
มีการติดเชื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซืเจน เนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนแก๊สของปอดลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีประวัติเป็น CA lung
ผู้ป่วยผิวซีด
มีเสมหะ เป็นสีขาวข้น เหนียว ไม่สามารถกำจัดออกได้เอง
วัตถุประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อป้องกันภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
หายใจหอบเหนื่อย
ผิวซีด
Cyanosis
เหงื่อออกมาก
หายใจเร็ว
อัตราการเต้นของหัวใจเร็วกว่าปกติ
มีเสมหะที่ไม่สามารถกำจัดออกได้เอง
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
อัตราการหายใจ อยู่ระหว่าง 16 - 24 ครั้งต่อนาที
อัตราการเต้นของหัวใจ อยู่ระหว่าง 60 - 100 ครั้งต่อนาที
Oxygen saturation มากกว่า/เท่ากับ 95 %
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ on oxygen collar mask 2 LPM
จัดท่านอนให้อยู่ในท่า Fowler position
ประเมินและฟังเสียงปอด
ติดตามผล chest x ray
ดูแลให้ได้รับการ suction ทั้งในปากและลำคอ
ดูแลให้ ICD ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลไม่ให้ เลื่อน หลุด หัก พับงอ
ดูแลให้อยู่ในระบบปิด ( close system )
seal ข้อต่อต่างๆ ให้แน่น
ปลายหลอดแก้ว ขวด UWS ต้องจุ่มใต้น้ำ 2-3 ซม
ถ้าพบว่าไม่มีการจุ่มใต้น้ำ ให้รีบ clamp สาย เติมน า แล้วให้
ผู้ป่วยไอออกแรงๆ เพื่อระบายลมออก
ระวังขวดล้ม/ เอียง
สังเกตการ fluctuated ของระดับน้ำในหลอดแก้ว ถ้าหายใจเข้า
ระดับน้ำจะเคลื่อนขึ้น หายใจออกระดับน้ำจะเคลื่อนลง
เปลี่ยนขวดเมื่อเมื่อมีcontent ออกเพิ่ม และปลายหลอดแก้วอยู่ใต้
น้ำเกิน 5ซม.
วางขวดต่ำกว่าทรวงอกผู้ป่วยเสมอ
หากพบว่าน้ำในขวดUWS ถูกดูดย้อนทาง กลับไปขวดเก็บสารเหลว แสดงว่า neg. pressure ในโพรงเยื่อหุ้มปอดสูงขึ้น แก้ไขเบื้องต้นโดยการต่อสายระหว่างขวดที่ 1-2 ให้ยาว ยกสายขึ้น และยกขวดเก็บสารเหลวให้อยู่สูงกว่าขวดอื่น
ดูแลให้ได้รับยา Inhalex forte 4 ml q 4 hr
ยาขยายหลอดลม
ผลข้างเคียง
ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่า ปัสสาวะขัด หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ คลื่นไส้ อาเจียน อาหารไม่ย่อย ปวดศีรษะ มึนงง
ดูแลให้ได้รับ mysoven 200 mg ตามแผนการรักษา
ยาละลายเสมหะ / ยาขับเสมหะ
ผลข้างเคียง
หลอดลมหดเกร็ง อาการบวม เกิดผื่น ความดันโลหิตต่ำ ความดันโลหิตสูง ผิวหนังแดง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ อาการวูบ เหงื่อออก ปวดข้อ มองเห็นภาพไม่ชัด รบกวนการทำงานของตับ เลือดเป็นกรด อาการชัก หัวใจหยุดเต้น ระบบทางเดินหายใจล้มเหลว น้ำมูกไหล
ดูแลให้รับการทำความสะอาดแผลบิเวณคอ โดยยึดหลัก sterile technique
ทำความสะอาดแผลโดยใช้ sterile dressing set
วิธีการทำความสะอาดแผล
ใส่ถุงมือ clean gloves แล้วแกะ gauze ที่หุ้มแผลออก
ถอดถุงมือ แล้วล้างมือให้สะอาด
เปิดชุด dressing set แล้วเท NSS ลงไปในหลุมที่อยู่ในภาด
ใช้ Applicator ชุบ NSS แล้วทำความสะอาดบริเวณรอบๆแผล โดยไม่เช็ดย้อนกลับ
พับ gauze เป็น 1/2 ส่วน และใช้ forceps คีบขึ้นมาแล้วสอดเข้าไปข้างๆแผล โดยให้สันของ Gauze หันเข้าด้านในแผล โดนสอดเข้าไปให้ชิดแผลที่สุด
พับ gauze เป็น 1/2 ส่วน และใช้ forceps คีบขึ้นมาแล้วสอดเข้าไปข้างๆแผล โดยให้สันของ Gauze หันเข้าด้านในแผล โดนสอดเข้าไปให้ชิดแผลที่สุด
ใช้เชือกผูกคอทบครึ่งแล้วสอดเข้าที่ด้านใด้ด้านหนึ่งแล้วผูกให้แน่น แล้วสอดใต้คอของผู้ป่วยหลังจากนั้นสอดเข้าไปอีกด้านนึงแล้วผูกให้เรียบร้อย โดยให้สามารถใช้นิ้วมือสอดเข้าไปได้
ตัดเชือกเส้นเก่าออก
ทำแผลแบบ wet dressing
ดูแลให้ได้รับการเปลี่ยน inner tube เวรละ 1 ครั้ง
เตรียม tube ที่แช่ใน virgon แล้วใช้ sterile water ชะล้าง แล้วเท sterile water ทิ้ง
ถอด tube เก่าออกแล้วใส่ tube ใหม่เข้าไปแทน โดยจับบริเวณปีกของ tube
นำ tube เก่าแช่ไว้ใน virgon
ประเมินผล
ไม่มีอาการหายใจหอบเหนื่อย
วัด oxygen saturation ขณะ roomair ได้ 93 - 94 %
เสี่ยงต่อการเกิดการติดเชื้อบริเวณ coccyx เนื่องจากมีแผลกดทับ
ข้อมูลสนับสนุน
มีแผลกดทับ ( pressure sore ) บริเวณ coccyx
บริเวณแผลมีลักษณะเปื่อยยุ่ย ( malcification )
แผลขนาด 4 x 8 เซนติเมตร
แผลลึกถึงชั้นกระดูก ลึกประมาณ 3 เซนติเมตร
Braden score = 10
ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้
ผู้ป่วยไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายเองได้
มีแผลที่คอ จากการทำ tracheostomy tube
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC = 14980 /uL
สูงกว่าปกติ
Lymphocyte = 13 %
ต่ำกว่าปกติ
Monocyte 2.4 %
ต่ำกว่าปกติ
Neutrophil = 84.3 %
สูงกว่าปกติ
Eosinophil = 0.1 %
ต่ำกว่าปกติ
วัตถุประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อป้องกันภาวะติดเชื้อในร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อในร่างกาย
มีไข้ อุณหภูมิร่างกาย มากกว่า 37.4 องศาเซลเซียส
อัตราการหายใจมากกว่าปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจมากกว่าปกติ
ความดันโลหิตต่ำกว่าปกติ
ฺผลตรวจทางห้องปฏิบัติการอยู่ในเกณฑ์ปกติ
Monocyte อยู่ระหว่าง 3 - 10 %
WBC อยู่ระหว่าง 140000 - 400000 /uL
Eosinophil อยู่ระหว่าง 0 - 5 %
Neutrophil อยู่ระหว่าง 40 - 70 %
Lymphocytee อยู่ระหว่าง 20 - 40 %
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
อัตราการหายใจ อยู่ระหว่าง 16 - 24 ครั้งต่อนาที
อัตราการเต้นของหัวใจ อยู่ระหว่าง 60 - 100 ครั้งต่อนาที
อุณหภูมิร่างกาย อยู่ระหว่าง 36.5 - 37.4 องศาเซลเซียส
แผลที่คอ มีลักษณะแห้งดี เริ่มมีเนื้อเยื่อขึ้นมายึดกัน
แผล pressure sore ที่ coccyx ไม่มีขนาดกว้างเพิ่มขึ้น
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อในร่างกาย
ประเมินลักษณะและขนาดของแผล pressure sore ที่บริเวณ coccyx
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
พลิกตะแคงตัวให้ผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง หลีกเลี่ยงการดึง ลาก เพื่อป้องกันการเสียดสีระหว่างผิวหนังของผู้ป่วยและผ้าปูเตียง
จัดผ้าปูที่นอนให้เรียบตึงอยู่เสมอ เพื่อป้องกันการเพิ่มขึ้นของแผลกดทับ
ห้ามผู้ป่วยนอนแช่อุจจาระ เพื่อป้องกันการเกิดแผลเพิ่มขึ้น และป้องกันการเกิดการสะสมของเชื้อโรค
หลังทำความสะอาดบริเวณ Perineum ให้แห้ง เพื่อกันการหมักหมดของเชื้อโรค และป้องกันการอับชื้น
ดูแลให้ได้รับการทำความสะอาดแผล โดยยึดหลัก sterile technique
ใช้ sterile dressing set
วิธี wet dressing
วิธีการทำความสะอาดแผล
ฟอกแผลด้วยสบู่เหลว ที่ชะล้างด้วย NSS
ใช้ Applicator หรือไม้พันสำลีชุบด้วย NSS เช็ดทำความสะอาดแผล โดยเช็ดจากกลางแผลออกไปรอบนอก โดยเช็ดจนสะอาด
ใช้ Gauze ขนาด 3 x 3 นิ้ว ชุบกับยา silverderm cream ผสมกับ NSS โดยค่อยๆสอดไว้ในบริเวณรอบข้างด้านในของแผลจนไม่มีพื้นที่เหลือ หลังจากนั้น ให้วางไว้บริเวณกลางแผล จนขึ้นมาเสมอกับผิวหนังส่วนอื่น
ปิดแผลด้วย top gauze ขนาด 6 x 12 นิ้ว แล้วใช้ fixomull ปิทับ
ประเมินผล
แผลตื้นขึ้น เนื้อแดงขึ้น มีdischargeซึมน้อยลง
ไม่มีไข้ ตรวจไม่พบเชื้อ
เสี่ยงต่อการเลือดเกิดโรคลิ่มเลือดอุดกั้นในหลอดเลือดปอดเนื่องจากมีภาวะหลอดเลือดดำอุตตันที่ขาข้างซ้าย
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยมีภาวะหลอดเลือดอุตตันที่หลอดเลือดดำขาข้างซ้าย
ผล U/S droppler deep vein of Left lower extremities veins (23/04/2019) พบสิ่ง ผิดปกติ คือ Subacute DVT along left external iliac vein, Swelling of the skin and subcutaneous tissue of left leg
ขนาดของขาซ้าย=35.5 cm ขาขวา=29 cm วัดจากล่างtibial tuberosity มา10cm
ผู้ป่วยนอนเป็นเวลานาน
ผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็งปอด ระยะที่4
วัตถุประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อป้องกันการเกิดโรคลิ่มเลือดอุดกั้นในหลอดเลือดปอด
เกณฑ์การประเมินผล
สัญญาณชีพปกติ โดยเฉพาะอัตราการหายใจและอัตราการเต้นของหัวใจ
ผู้ป่วยไม่มีอาการหอบเหนื่อยและหัวใจเต้นเร็ว
ฟังปอดไม่พบเสียงwheezing
ผู้ป่วยไม่พบขาบวม แดงร้อน ที่ขาข้างซ้าย
กิจกรรมทางการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชม. โดยเฉพาะดูอัตราการเต้นของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยา Enoxaparin (clexane) 40 mg. 0.4 ml. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง 0.8 cc วันละครั้ง
ผลข้างเคียง
ภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก
ยาละลายลิ่มเลือด
ฟังเสียงปอดและเสียงหายใจของผู้ป่วย
ใช้หมอนรองยกขาสูงขึ้น เพื่อช่วยเพิ่มการไหลเวียนเลือด
ประเมินผล
ไม่มีอาการหอบเหนื่อย และ หัวใจเต้นเร็ว
อัตราการหายใจ= 16-20ครั้ง/นาที อัตราการเต้นของหัวใจ= 98-72ครั้ง/นาที
ไม่มีอาการขาบวม แดงร้อน ที่ขาข้างซ้าย
ยา
Inhalex forte 4 ml พ่นครั้งละ 1 หลอด ทุก 4 hr
ข้อบ่งใช้
เพื่อขยายหลอดลม รักษาโรคปอดเรื้อรัง
ผลข้างเคียง
ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่า ปัสสาวะขัด หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ คลื่นไส้ อาเจียน อาหารไม่ย่อย ปวดศีรษะ มึนงง
Enoxaparine 0.8 ml SC OD
ข้อบ่งใช้
ป้องกันและรักษาภาวะลิ่มเลือดกั้นในหลอดเลือดดำ
ผลข้างเคียง
เกิดภาวะเลือดออก รวมถึงบริเวณที่ได้รับการฉีดยา อาการบวมน้ำบริเวณอวัยวะส่วนปลาย โลหิตจาง เลือดออกในปัสสาวะ เป็นไข้ สับสน คลื่นไส้ ท้องเสีย หายใจลำบาก
paracetamol 500 mg tab q 6 hr , prn
ข้อบ่งใช้
รักษาอาการปวด ลดไข้
ผลข้างเคียง
ผื่นแดง บวมแดง ความดันโลหิตต่ำ และหัวใจเต้นแรงได้ โรคเลือด เช่น เกล็ดเลือดต่ำ (thrombocytopenia) และ เม็ดเลือดขาวต่ำ (leukopenia) ทำลายตับและไต
Mysoven 200 mg granule
ข้อบ่งใช้
ขับเสมหะ ละลายเสมหะ
ผลข้างเคียง
หลอดลมหดเกร็ง อาการบวม เกิดผื่น ความดันโลหิตต่ำ ความดันโลหิตสูง ผิวหนังแดง คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ อาการวูบ เหงื่อออก ปวดข้อ มองเห็นภาพไม่ชัด รบกวนการทำงานของตับ เลือดเป็นกรด อาการชัก หัวใจหยุดเต้น ระบบทางเดินหายใจล้มเหลว น้ำมูกไหล
Omeprazole capsules 20 mg 1 x 1 oral aac
ข้อบ่งใช้
ยับยั้งการหลังกรดในกระเพาะอาหาร
ผลข้างเคียง
ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง มีแก๊สในกระเพาะอาหาร อาการแพ้ยา ได้แก่ หายใจลำบาก ริมฝีปาก ลิ้น ลำคอ และใบหน้ามีอาการบวม เกิดลมพิษ
Madiplot 20 mg tab 1 x 1 oral pc
ข้อบ่งใช้
รักษาความดันโลหิตสูง
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะ วิงเวียน หน้าแดง ใจสั่น และอาการบวม อาการอ่อนล้า หัวใจเต้นเร็ว เหนื่อย คลื่นไส้อาเจียน ท้องผูก ปากแห้ง ผื่นผิวหนัง คัน เอ็นไซม์ตับเพิ่มสูงขึ้น และ/หรือ การทำงานของไตทรุดลง เม็ดเลือดขาวต่ำ
Enalapril 5 mg tab 1 x 1 pc
ข้อบ่งใช้
รักษาความดันโลหิตสูง
ผลข้างเคียง
หัวใจเต้นแรง เวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม เม็ดเลือดขาวต่ำลง อาจพบอาการอักเสบหรือติดเชื้อ เช่น เจ็บช่องปากขณะกลืนอาหาร รู้สึกเหนื่อยหรืออ่อนล้า รู้สึกหนาว มีไข้ ไอ หรือมีอาการคล้ายไข้หวัด หายใจลำบาก หรือติดขัด ความผิดปกติของไต อาจพบปัสสาะวะน้อย เจ็บปวดขณะปัสสาวะหรือปัสสาวะลำบาก บวมที่เท้าหรือข้อเท้า เหนื่อย หายใจลำบาก
Sennosides tab 2 x 1 oral hs
ข้อบ่งใช้
กระตุ้นให้ลำไส้เกิดการบีบตัว รักษาอาการท้องผูก ใช้เป็นยาระบาย
ผลข้างเคียง
อาการปวดท้องหรือถ่ายท้องรุนแรงจนเกิดภาวะขาดน้ำและเกลือแร่ได้ โดยเฉพาะโพแทสเซียม เป็นผลทำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงและหัวใจเต้นผิดปกติ
ข้อมูลผู้ป่วย :silhouettes:
ข้อมูลทั่วไป
วันที่ 22 ตุลาคม 62
ผู้ป่วยหญิงชาวไทย อายุ 70 ปี รู้สึกตัวเล็กน้อย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ตอบสนองได้น้อย ไม่มีอาการหายใจหอบเหนื่อย Oxygen saturation = 97-99 % ผิวขาวซีด มีความชุ่มชื้นดี on NG tube feed รับได้ดี ไม่มี content ค้างสาย ที่คอ on tracheostomy tube secretion มีสีขาวขุ่นเล็กน้อยและ on oxygen collar mask 5 LPM On ICD No.28 depth. 8 cm. ที่ปอดข้างซ้าย ชนิด 2 ขวด exudate เป็นสีเหลืองใส retained foler's catheter บริเวณ coccyx มีแผล pressure sore stage IV พบปลายมือปลายเท้าบวม
วันที่ 25 ตุลาคม 62
ผู้ป่วยหญิงชาวไทย อายุ 70 ปี รู้สึกตัวเล็กน้อย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ตอบสนองได้น้อย มีอาการหายใจหอบเหนื่อย Oxygen saturation = 94-95 % ผิวขาวซีด มีความชุ่มชื้นดี on NG tube feed รับได้ดี ไม่มี content ค้างสาย ที่คอ on tracheostomy tube secretion มีสีขาวขุ่นเล็กน้อย ไม่เหนียว และ on oxygen collar mask 3 LPM On ICD No.28 depth. 8 cm. ที่ปอดข้างซ้าย ชนิด 2 ขวด exudate เป็นสีเหลืองใส retained foler's catheter บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ พบตุ่มน้ำใส่ล้อมรอบด้วยผื่นแดง ผิวหนังบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์แห้งและลอกเป็นขุย บริเวณ coccyx มีแผล pressure sore stage IV มีขนาด 4 x 8 เซนติเมตร ลึกถึงชั้นกระดูกโดยมีความลึกประมาณ 3 เซนติเมตร แผลแดงดี ไม่มี slough พบปลายมือปลายเท้าบวม
วันที่ 26 ตุลาคม 62
ผู้ป่วยหญิงชาวไทย อายุ 70 ปี รู้สึกตัวเล็กน้อย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ตอบสนองได้น้อย มีอาการหายใจหอบเหนื่อย Oxygen saturation = 98 % ผิวขาวซีด มีความชุ่มชื้นดี on NG tube feed รับได้ดี ไม่มี content ค้างสาย ที่คอ on tracheostomy tube secretion มีสีขาวขุ่นเล็กน้อย ไม่เหนียว และ on oxygen collar mask 3 LPM On ICD No.28 depth. 8 cm. off ICD ที่ปอดข้างซ้ายแล้ว on foler's catheter บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ พบร่องรอยตุ่มน้ำใสที่แตกแล้ว ล้อมรอบด้วยผื่นแดง ผิวหนังบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์แห้งและลอกเป็นขุย บริเวณ coccyx มีแผล pressure sore stage IV มีขนาด 4 x 8 เซนติเมตร ลึกถึงชั้นกระดูกโดยมีความลึกประมาณ 3 เซนติเมตร แผลแดงดี ไม่มี slough พบปลายมือปลายเท้าบวม
วันที่ 30 ตุลาคม 62
ผู้ป่วยหญิงชาวไทย อายุ 70 ปี รู้สึกตัวเล็กน้อย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ตอบสนองได้น้อย มีอาการหายใจหอบเหนื่อย Oxygen saturation ขณะ roomair ได้ 93 - 94 % ผิวขาวซีด มีความชุ่มชื้นดี on NG tube feed รับได้ดี ไม่มี content ค้างสาย ที่คอ on tracheostomy tube secretion มีสีขาวขุ่นเล็กน้อย ไม่เหนียว และ on oxygen collar mask 3 LPM off ICD ที่ปอดข้างซ้ายแล้ว on foler's catheter บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ พบร่องรอยตุ่มน้ำใสที่แตกแล้ว ล้อมรอบด้วยผื่นแดง ผิวหนังบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์แห้งและลอกเป็นขุย บริเวณ coccyx มีแผล pressure sore stage IV มีขนาด 4 x 8 เซนติเมตร ลึกถึงชั้นกระดูกโดยมีความลึกประมาณ 3 เซนติเมตร แผลแดงดี มีsloughเล็กน้อย มีdischargeซึมที่ top gauze เล็กน้อย พบปลายมือปลายเท้าบวม
อาการสำคัญ
มีไข้ เหนื่อย ซึมลง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
การเจ็บป่วยในปัจจุบัน
1 วันก่อนมาโรงพยาบาลผู้ป่วยมีไข้ รู้สึกเหนื่อย มีเสมหะสีน้ำตาลจำนวนมาก ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีถ่ายเหลว มีอาการหายใจเหนื่อยมากขึ้น จึงพามาโรงพยาบาล
การเจ็บป่วยในอดีต
Dyslipidemedia : โรคไขมันในเลือดสูง
Hypertension : โรคความดันโลหิตสูง
Deep vein thrombosis : ภาวะหลอดเลือดที่ขาอุดตัน
CA lung : โรคมะเร็งปอด
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติการผ่าตัด
25 กรกฎาคม 62 ใส่ Endotracheal tube
16 สิงหาคม 62 ใส่ Tracheostomy tube