Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Chronic Obstructive Pulmonary Disease with Acute exacerbation with…
Chronic Obstructive Pulmonary Disease with Acute exacerbation with pneumonia
-
-
พยาธิสภาพ COPD
สาเหตุ
- การสูบบุหรี่ร้อยละ 80-90 เป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับ
แรกต่อการเกิดโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
- การขาดแอลฟา 1 แอนติทริพซิน (Alpha 1
antitrypsin)
- มลภาวะทางอากาศ สารเคมี ฝุ่นละอองต่างๆ
ที่พบบ่อยคือสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2)
- อายุ ในคนปกติเมื่ออายุเพิ่มมากขึ้น พบว่าสภาพ
ความยืดหยุ่นของเนื้อปอดและหลอดลมลดลง
- การติดเชื้อ ผู้ป่วยโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง มีการอักเสบบริเวณเยื่อบุผิวหลอดลม ทำให้เกิดแผลเป็นบริเวณเยื่อบุหลอดลมและชั้นใต้เยื่อบุผิวหนาขึ้น เกิดหลอดลมตีบแคบถาวรและการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน
การรักษา
- บรรเทาอาการของโรคให้ลดน้อยลง เช่น การให้ยาขยายหลอดลม การให้ออกซิเจนเมื่อมีอาการหอบเหนื่อย หายใจลำบาก
-
-
-
- คงสมรรถภาพการทำงานของปอดไว้หรือให้เสื่อมลงช้าที่สุด ในปัจจุบันโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังยังไม่มีวิธีใดที่สามารถรักษาให้หายขาดได้ การรักษาที่สำคัญคือ ให้คำแนะนำให้การเลิกสูบบุหรี่ เพื่อหยุดสภาพที่เหลืออยู่ให้ทำหน้าที่ต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพยั้ง หรือชะลอพยาธิ
- ป้องกันการกำเริบของโรค โดยเฉพาะปัจจัยชักนำเช่น การสูบบุหรี่ การติดเชื้อ การปฏิบัติตนไม่ถูกต้องเป็นต้น
- ช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น การรักษาจึงเป็นการประคับประคอง
แก้ไขตามสภาพที่เกิดขึ้น
-
การวินิจฉัย
-
3.2 การตรวจภาพรังสีทรวงอก ผู้ป่วย COPD มักมีลักษณะ Hyperinflation ของทรวงอก กลาวคอ กระบังลมจะแบนราบ และ หัวใจมีขนาดเล็ก ในภาพรังสีทรวงอกของผู้ป่วยที่มี corpulmonale จะพบว่าหัวใจมีขนาดโต และ vascular markings เพิ่มมากขึ้น
3.3 การตรวจวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง ( Arterial blood gas ) เป็นวิธีการที่ใช้เพื่อช่วยวินิจฉัยและประเมินผลของผู่ป่วย COPD ในระยะแรก ค่า PaO2 ปกติ ต่อมาจะมีค่า PaO2 ต่ำเล็กน้อย คืออยู่ระหว่าง 65 – 75 มิลลิเมตรปรอท ส่วนค่า PaCO2 มักจะปกติ ในระยะ หลังที่มีความรุนแรงของโรคมากขึ้น ค่า PaCO2 จะสูงขึ้น
ในภาวะ acute exacerbation ผู้ป่วย จะมีภาวะ พร่องออกซิเจนมากขึ้น และค่า PaCO2 สูงขึ้น ( PaCO2 อยู่ระหว่าง 50 – 90 มิลลิเมตรปรอท) การพยากรณ์ โรคมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความรุนแรงของ acidosis ในเลือดมากกว่าระดับความสูงของ PaCO2
-
-
3.5 การตรวจทางห้องทดลองอื่น ๆ การตรวจเสมหะ ลักษณะของเสมหะ โดยเฉพาะการย้อมสีแกรม จะช่วยวินิจฉัยการติดเชื้อ เกิดขึ้น
1 การซักประวัติ
-
1.2 ลักษณะเฉพาะโรค อาการสำคัญของโรคถุงลมโป่งพอง คือ อาการเหนื่อยหอบ อาจมีเป็น ระยะ ๆ หรือมีตลอดเวลา ในระยะแรกอาจเหนื่อยหอบเวลาออกแรงมาก ๆ ในระยะหลังอาจหอบแม้ขณะ อยู่เฉย ๆ สำหรับโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังอาการเฉพาะคอ อาการไอ และเสมหะมาก ซึ่งมักเกิดขึ้นตอน เช้าและหลังตื่นนอน จากการสะสมของสารคัดหลั่งในตอนกลางคืน
-
-
เป็นการอักเสบที่เกิดจาก neutrophil, CD8 lymphocyteและ macrophage ร่วมกันสร้างสาร tumor necrosis factor,leukotriene B4, interleukin-8 ออกมาทำลายเนื้อปอดมีการเพิ่มทั้งจำนวนและขนาดของ goblet cell ภายในเยื่อบุหลอดลมจนเกิดการสร้างเมือกมาอุดตันทางเดินหายใจมีการทำลายเซลล์endothelium ของผนังหลอดลมจนทำให้การทำงานของเยื่อบุและขนอ่อนของหลอดลม (mucociliary clearance)เสียไปจนไม่สามารถกำจัดแบคทีเรียและเมือกออกไปได้ ตลอดจนมีการทำลายเนื้อปอดและถุงลมจนเสียความยืดหยุ่นของปอด ร่วมกับมีหลอดลมอุดตัน
จนทำให้เวลาหายใจออกเกิดมีหลอดลมตีบได้นอกจากนี้การอุดตันของหลอดลมและหลอดเลือดใน
ปอดก็ทำให้การแลกเปลื่ยนนแก๊สเสียไป ดังนั้น อาจพบทั้งภาวะขาด
ออกซิเจนและภาวะเลือดคั่งคาร์บอนไดออกไซด์ร่วมกัน ตลอดจน
ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังจะทำให้ผนังหลอดเลือดในปอดหนาตัวึ้นจนเกิดความดันเลือดในปอดสูงที่เรียกว่า pulmonary hypertension
ซึ่งถ้ามีภาวะเลือดข้นและหัวใจซีกขวาวาย (right side heart failure) ร่วมด้วยที่เรียกว่า cor pulmonale ตามมาในท้ายสุด
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่1
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจาก ประสิทธิภาพการเเลกเปลื่ยนเเก๊สลดลง
-
-
-
กิจกรรมทางการพยาบาล
-
-
5 จัดท่านอนให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 30 องศา high fowler positionเพราะทำให้กระบังคมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซมากขึ้น
-
- ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด เขียว
เพราะอาการหายใจหอบ ชีพจรเร็ว ปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด เขียว แสดงถึงภาวะพร่องออกซิเจน
7 ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียง
เพราะการพักผ่อนบนเตียงจะช่วยลดการใช้ออกซิเจนในการทำกิจกรรม ทำให้อาการเหนื่อยอ่อนเพลียลดลง
8 ดูเเลให้ได้รับยาพ่นตามเเผนการรักษาของเเพทย์ได้เเก่ beradial พ่น ทุกๆ8ชั่วโมง
nss 4 ml พ่นทุกๆ 8ชม
NAC (200)mg 1 ₓ 3 ๏ pc
-
9 สอนผู้ป่วยเเละญาติเรื่องการหายใจเเบบ(Pursed lip breathing
เป็นการหายใจเข้าทางจมูกช้าๆ (นับในใจ หนึ่ง และสอง) และหายใจออกทางปาก โดยห่อปากเล็กน้อย (นับในใจหนึ่ง สอง สามและสี่) ซึ่งการหายใจออกยาวนานเป็นสองเท่าของการหายใจเข้า เพื่อชะลอการตีบแคบของหลอดลม ช่วยเพิ่มปริมาตรของอากาศที่และเพิ่มประสิทธิภาพของปอดในการซึมผ่านของการหายใจออกแต่ละครั้ง ลดอากาศที่คั่งค้างในปอดระบายอากาศ
การประเมินผล
25/10/62
- o2 sat = 96 %
สัญญาณชีพRR = 22 ครั้ง/นาที PR= 94 bpm
BP= 110/70 mmhg
T=37.4องศาเซลเซียส
- ผู้ป่วยไม่มีอาการหอบเหนื่อย ไม่พบปลายมือปลายเท้าซีด
- มีเสมหะขาวเหนียวข้น
29/10/62
- o2 sat = 90 %
- สัญญาณชีพ
RR = 26 ครั้ง/นาที PR= 84 bpm BP= 91/60 mmhg
T=36.4องศาเซลเซียส
- ผู้ป่วยมีอัตราการหายใจ 26 ครั้ง/นาที
-ผู้ป่วยไม่มีอาการหอบเหนื่อย ไม่พบปลายมือปลายเท้าซีด
- มีเสมหะขาวลดน้อยลง
30/10/62
- o2 sat = 97 %
- สัญญาณชีพ
RR = 22 ครั้ง/นาทีPR= 94 bpm BP= 110/62 mmhg
T=36.4องศาเซลเซียส
- ผู้ป่วยไม่มีอาการหอบเหนื่อย ไม่พบปลายมือปลายเท้าซีด
- มีเสมหะขาวลดน้อยลง
-
-
พยาธิสภาพPneumonia
-
-
มีการติดเชื้อในทางเดินหายใจ เชื้อที่อยู่ในเสมหะหรือเมือกในทางเดินหายใจส่วนต้นจะแพร่เข้าสู่ถุงลมซึ่งภายในถุงลมจะมีกลไรการป้องกันตามปกติของร่างกาย เช่น การโบกปัดของซิเลียและการไอเพื่อขจัดเชื้อในเสมหะหรือเมือกออกไป ขณะเดียวกันแมกโครฟาจจะทำลายเชื้อโลกที่อยู่ในถุงลมและซิเลียจะโบกปัดขับออกโดยการไอเพื่อขับเชื้อออกทางเสมหะหรือกลืนลงสู่กระเพาะอาหาร แต่ถ้าร่างกายไม่มีกลไกดังกล่าวปอดจะมีการอักเสบโดยมีการสร้างน้ำและเมือกเพิ่มขึ้นบริเวณถุงลมและไหลเข้าสู่หลอดลมฝอยทำให้เนื้อที่ในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงและยังมีการขจัดเชื้อโรคออกไปยังต่อมน้ำเหลืองและกระแสเลือดเพื่อขจัดออกจากร่างกาย ซึ่งจะมีเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดแดงมารวมตัวบริเวณที่มีการอักเสบมากขึ้น ทำให้บริเวณถุงลมแคบลงและมีลักษณะแข็งน้ำและเมือกที่ติดเชื้อจะแพร่กระจายไปยังปอดส่วนอื่น ทำให้ผู้ป่วยมีไข้ ไอ อาจมีเสมหะร่วมด้วย
การวินิจฉัย
- จากอาการแสดงคือ ไข้ ไอ หายใจเร็ว ร่วมกับฟังปอดได้ยินเสียง crepitations หรือ bronchial breath sounds
- ภาพรังสีทรวงอก ช่วยยืนยันการวินิจฉัยในผู้ป่วยที่ประวัติและการตรวจร่างกายไม่ชัดเจน ในรายที่มั่นใจในการวินิจฉัยแล้วไม่จำเป็นต้องถ่ายภาพรังสีทรวงอก นอกจากต้องการประเมินว่าผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนจากปอดอักเสบหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด ควรทำทุกรายแม้จะไม่สามารถใช้แยกสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียหรือไวรัสได้ชัดเจน กรณีที่พบ neutrophil สูงมากและมี toxic granules ช่วยสนับสนุนว่าเป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย
การย้อมเสมหะ (sputum หรือ nasopharyngeal aspiration) gram stain เป็นวิธีที่มีความไว (sensitive) แต่ไม่จำเพาะ (specific) ต่อเชื้อที่เป็นสาเหตุ อาจเป็นแนวทางคร่าวๆ ถึงเชื้อก่อโรค
-
การเพาะเชื้อจากเลือด (hemoculture) ควรทำเฉพาะรายที่เป็นรุนแรง เชื้อที่มักก่อให้เกิดการติดเชื้อในกระแสโลหิตได้แก่ Streptococcus pneumoniae, Haemophilus influenzae
รักษา
การรักษาจำเพาะ
ในรายที่เป็นโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัส ไม่มียารักษาที่จำเพาะควรให้การรักษาแบบประคับประคอง และบำบัดรักษาทางระบบหายใจที่เหมาะสม
ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาด้วยยาปฏิชีวนะเร็วที่สุดทันทีที่ได้รับการวินิจฉัยว่ามีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรีย การพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะควรเลือกใช้ตามเชื้อที่คิดว่าเป็นสาเหตุ และมีข้อมูลทางคลินิคและทางระบาดวิทยาของท้องถิ่นนั้นๆ
การรักษาทั่วไป
ให้สารน้ำให้เพียงพอ แนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ ในรายที่หอบมาก ท้องอืด รับประทานอาหารไม่ได้ พิจารณาให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและงดอาหารทางปาก
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-