Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ - Coggle…
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ กับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก” รัชกาลที่ 1
การปกครองและการบริหาร ฟื้นฟูสถาบันกษัตริย์ -การจัดองค์กรทางสังคม ระบบศักดินา สักเลกไพร่
ด้านศาสนา มีการสังคายนาพระไตรปิฎก ด้านเศรษฐกิจ การค้ากับจีน สร้างเมืองราชธานี
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เป็นช่วงระยะของการก่อสร้างตัวและการทำสงครามกับพม่า ฐานะของของประเทศไม่มั่นคง เศรษฐกิจเงินตราและการค้าขยายตัวจาก การค้าสำเภาหลวง กำไรจากการผูกขาดสินค้า ภาษีปากเรือ ภาษีสินขาเข้า-ออก
รัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ยุบเลิกการค้าของหลวง และเก็บภาษี (38 ชนิด) - มีระบบราชการเป็นกลไกการเก็บภาษี (ระบบเจ้าภาษี นายอากร) ชาวจีน
รัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
นโยบายเปิดประตู-สนธิสัญญาปี พ.ศ.2398 (สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง)
พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว มหาวชิ ราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร (รัชกาลที่ 10)
สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนยากไร้ สร้างโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเสด็จพระราชทานปริญญาบัตรแก่ชาวราชภัฏทั่วประเทศอย่างยาวนาน กว่า 40 ปี ครั้งล่าสุดเป็ นครั้งที่ 87 มีบัณฑิตที่ได้เข้ารับพระราชทานปริญญาจากพระหัตถ์ จ านวน 2,360,387 ล้านคน
พระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิ พลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ4,810 โครงการ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พระราชทานนาม “ราชภัฏ” คนของพระราชา
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8)
ยุติความขัดแย้งระหว่างชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน
•พระราชปรารภในการผลิตแพทย์เพิ่มขึ้น
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7)
ความเสียสละของพระองค์ต่อการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง จากจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็ นราชาธิปไตยภายใต้ราชธรรมนูญนั้น ถือเป็นพระคุณอันล้นพ้น ของชาวไทยทุกคนที่ได้ทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจจักรสยามพุทธศักราช2475 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญถาวร ฉบับแรกของไทย เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พุทธศักราช 2475 จนท าให้ ประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตยในปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6
ได้ทรงพยายามที่จะทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย ดุสิตธานี
มีเสรีภาพทางด้านความคิด
บรรยากาศการเมืองภายนอก ส่ง ผลต่อความคดิ ของคนไทย
สร้างความรู้สึกเรื่องชาตินิยม (หนังสอไทยร้องเพลง สรรเสริญพระบารมี ประดับธงชาติในโรงเรียน)
เกิดกบฏ ร.ศ. 130 เพื่อท าการเปลี่ยนแปลง แต่ไม่ประสบ ความสำเร็จ
ประเทศสยามเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
การสร้างรัฐชาติแบบใหม่ การรวมศูนย์อ านาจให้รัฐบาล กลางและการสร้างความเป็นอันเดียวกันของคนในรัฐชาติ - ยกเลิกระบบกินเมือง การปกครองแบบเทศาภิบาล มณฑล จังหวัด - มีการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน กระทรวง
อาณาจักรสุโขทัย
ระบบการปกครองและเสรีภาพ ลักษณะการปกครอง พ่อปกครองลูก (ธรรมราชา)
เศรษฐกิจ เศรษฐกิจของอาณาจักรสุโขทัยเป็นเศรษฐกิจการเกษตร
โครงสร้างสังคม
(1) ชนชั้น ปกครอง กษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการ พระภิกษุสงฆ์
2) ชนชั้นที่ถูกปกครอง ปกครอง สามัญชนหรือไพร่ และทาส
อาณาจักรธนบุรี
มีการสักไพร่ เพื่อจัดระเบียบชาติไทยขึ้ใหม่
อาณาจักรกรุงศรีอยูธยา
การปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ลัทธิเทวสิทธ์ มโนทัศน์ธรรมราชาจากสุโขทัย ฐานะของกษัตริย์กับประชาชนจึงห่างไกลกันข้าราชบริพ่รเป็นสื่อกลางระหว่างพระมหากษัตริย์และ ประชาชน ระบบเจ้าขุนมูลนายหรือศักดินา
พระเจ้าตากสินโดยการช่วยเหลือของ– สมเด็จเจ้า พระยามหากษัตริย์ศึก- เจ้า พระยาสุรสิห์ สามารถผนึกรัฐไทยขึ้น เป็นเอกภาพอีกครั้งหนึ่ง กรุงธนบุรีเป็นราชธานี
ปัจจัยที่ทำให้กรุงศรีอยุธยาเรืองอำนาจ
ตั้งอยู่ใกล้เมืองท่าชายฝั่งทะเล ทำให้ทำการค้าได้สะดวก
มีแม่น้ำไหลผ่าน ทำให้เพราะปลูกข้าวได้ดี
3.การที่จักรวรรดิเขมรและอาณาจักรสุโขทัย ตกต่ำลง
โครงสร้างเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง