Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการย่อยอาหารของมนุษย์, อวัยวะที่เป็นทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
กระบวนการย่อยอาหารของมนุษย์
อวัยวะที่ช่วยในการย่อยอาหาร
ได้เเก่
ตับ
ทำหน้าที่ผลิตน้ำดี ส่งไปเก็บไว้ที่ถุงน้ำดี ซึ่งมีท่อติดต่อกับลำไส้เล็ก น้ำตีจากไขมันตับทำให้ไขมันแตกตัวออกเป็นเม็ดเล็กๆ เป็นการเพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัสเพื่อให้เอมไซม์จากตับอ่อนย่อยไขมันได้ดีขึ้น คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมันจะถูกย่อยในลำไส้เล็กจนมีขนาดโมเลกุลเล็กที่สุด
ตับอ่อน
ผลิตเอมไซม์ย่อยโปรตีน ไขมัน และแป้ง นอกจากนี้ยังผลิตโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตซึ่งมีสมบัติเป็นเบส เพื่อปรับสภาพความเป็นกรด-เบสในลำไส้เล็กให้เหมาะกับการทำงานของเอมไซ
การย่อยอาหารมี2เเบบ คือ
1.การย่อยเชิงกล (Mechanical digestion)
เป็นกระบวนการทำให้อาหารมีขนาดเล็กลง เพื่อสะดวกต่อการเคลื่อนที่และการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่อไป
2.การย่อยทางเคมี (Chemical digestion)
เป็นการย่อยอาหารให้มีขนาดเล็กที่สุด โดยการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่าง อาหาร กับ น้ำ โดยตรง และจะใช้เอนไซม์หรือน้ำย่อยเข้าเร่งปฏิกิริยา
อวัยวะที่เป็นทางเดินอาหาร
ปาก
ฟัน
มีหน้าที่ในการตัด ฉีก และบดอาหาร ให้ละเอียด
ลิ้น
ทำหน้าที่บอกตำแหน่งอาหาร กลืนอาหารและเปล่งเสียง และมีหน่วยรับรู้สารเคมี ในการรับรสอาหาร
ต่อมน้ำลาย
มี3คู่
1.ต่อมน้ำลายใต้ลิ้น (Sublingual Gland) 1 คู่
2.ต่อมน้ำลายใต้ขากรรไกรล่าง (Submandibulary Gland) 1 คู่
ต่อมน้ำลายข้างกกหู (Parotid Gland) 1 คู่
ทำหน้าที่ผลิตน้ำลายซึ่งมีเอนไซม์อะไมเลส
หน้าที่
ย่อยเเป้งเเละไกลโครเจน ได้เป็นสารอาหารโมเลกุลเล็กเล็กที่สุดคือน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว
กลูโคส
ฟรักโทส
กาเเลกโทส
ทวารหนัก
เป็นส่วนสุดท้ายของทางเดินอาหาร ทำหน้าที่จับถ่ายกากอาหารออกจากร่างกาย
ไส้ตรง
เป็นส่วนปลายของลำไส้ใหญ่ มีลักษณะเป็นท่อตรง ควบคุมการปิดเปิดของทวารหนัก กล้ามเนื้อหูรูดด้านใน ถูกควบคุมโดยระบบประสาทอัตโนมัติ
คอหอย
เป็นทางผ่านของอาหารเข้าสู่หลอดอาหารโดยอาศัยการบีบตัวของกล้ามเนื้อที่ผนังคอหอย และยังเป็นทางผ่านของอากาศเข้าสู่หลอดลมด้วย
ลำไส้ใหญ่
เป็นที่รวมของกากอาหาร ซึ่งมีการขับเมือกออกมาหล่อลื่นช่วยในการเคลื่อนที่ของกากอาหาร ที่ผนังด้านในดูดซึมน้ำ แร่ธาตุ และวิตามินบางชนิดที่ไม่ได้ถูกดูดซึมจากลำไส้เล็กกลับเข้าสู่ร่างกาย
หลอดอาหาร
เป็นทางผ่านของอาหารลงสู่กระเพาะอาหารโดยการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อรอบๆ หลอดอาหารเรียกกระบวนการนี้ว่า เพอริสตัลซิส ในหลอดอาหารไม่มีต่อมสร้างน้ำย่อยแต่มีต่อมขับน้ำเมือกช่วยหล่อลื่นอาหารให้ผ่านได้สะดวก
กระเพาะอาหาร
เป็นทางเดินอาหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ช่วยคลุกเคล้าอาหารโดยการหดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร
-มีเซลล์ผลิตกรดไฮโดรคลอริก (HCl) ทำให้เอนไซม์สำหรับย่อยโปรตีนอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้งาน ซึ่งเอนไซม์ที่ย่อยโปรตีน ได้แก่
ซึ่งเอนไซม์ที่ย่อยโปรตีน ได้แก่
-เอนไซม์เพปซิน(Pepsin) ทำหน้าที่ย่อยโปรตีนให้มีขนาดเล็กลงจนเป็นสายสั้นๆ เรียกว่า เพปไทด์ (Peptide)
-เอนไซม์เรนนิน(Rennin) สำหรับย่อยโปรตีนในนมให้มีลักษณะเป็นลิ่มๆ
ไม่มีการย่อยคาร์โบไฮเดรทและไขมันในอวัยวะนี้
ลำไส้เล็ก
เป็นบริเวณที่มีการย่อยและการดูดซึมเกิดขึ้นมากที่สุด โดยเอนไซม์ในลำไส้เล็กจะทำงานได้ดีในสภาพที่เป็นเบส
มีการสร้างเอนไซม์ขึ้นในอวัยวะนี้ ได้แก่
มอลเทส (Maltase)
ซูเครส(Sucrase)
แลกเทส(Lactase)
การย่อยอาหารที่ลำไส้เล็กโดยใช้เอนไซม์จากตับอ่อน (Pancreas) มาช่วยย่อย ได้แก่
ทริปซิน (Trypsin) เป็นเอนไซม์ที่ย่อยโปรตีนหรือเพปไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน
อะไมเลส(Amylase) เป็นเอนไซม์ที่ย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลมอลโทส
ลิเพส หรือ ไลเพล (Lipase) เป็นเอนไซม์ที่ย่อยไขมันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล