Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ, heart6, obolochki-serdca-stroenie-serdca-cheloveka-6…
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ภาวะแทรกซ้อน
-
-
การติดเชื้อ และเป็นหนอง ในกล้ามเนื้อ
หัวใจ,pericarditis
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ bactericidal effect
นาน 2-4 สัปดาห์ การผ่าตัด เมื่อมีข้อบ่งชี้ คือ ภาวะหัวใจวาย มีการติดเชื้อที่สามารถคุมได้ด้วยยา มีการติดเชื้อลุกลามไปที่กล้ามเนื้อหัวใจ เกิด embolization ซ้ำ
การให้ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด :
warfarin,heparin
ACUTE PERICARDITIS
อาการ
มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว เจ็บบริเวณกลางหน้าอก
(sharp retrosternal pain) ร้าวไปแขนซ้าย หัวไหล่ซ้าย มีอาการมากขึ้นเวลานอนราบ กลืนอาหารหรือหายใจเข้า
-
การรักษา
-รักษาที่ต้นเหตุ -รักษาอาการเจ็บหน้าอก-ให้ non-steroidal anti inflamatory agents เช่น
aspirin 600 mg. ทุก 3-4 ชม. หรือibuprofen 600-800 mg. ทุก 6 ชม.
ให้ร่วมกับยา colchicine 1 mg.ต่อวัน-จะช่วยลดอาการได้ดีขึ้นและป้องกันการเกิดซ้ำและยา
corticosteroid ซึ่งต้องระวังผลข้างเคียงของยา ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
กล้ามเนื้อหัวใจ
อักเสบ
สาเหตุ
การติดเชื้อไวรัส (พบได้บ่อยที่สุด) เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา ,ricketsia
-
-
พยาธิสภาพ
เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ เกิด fibrosis และ hypertrophy
มีผลกระทบต่อระบบการนำสัญญาณไฟฟ้าในหัวใจ เกิดarrhythmia และ การทำงานของกล้ามเนื้อ
หัวใจ ทำให้ขนาดของห้องหัวใจ ventricle ขยายใหญ่ เป็นผลให้ขอบวงนอกของลิ้นหัวใจกว้างขึ้น จึงพบการ
รั่วของ mitral valve ทำให้เกิดหัวใจล้มเหลวตามมา
-
การรักษา
รักษาที่สาเหตุ
รักษาตามอาการ
-นอนพัก
- รักษาภาวะหัวใจวาย/หัวใจเต้นผิดจังหวะ
- ให้ยาลดการอักเสบ
- ให้ยาปฏิชีวนะ
Infective endocarditis
เป็นโรคติดเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา, rickettsia
chlamydia หรือไวรัสที่เกิดบนลิ้นหัวใจและเยื่อบุendocardium
ทำให้เกิดการทำลายของลิ้นหัวใจ และมีการกระตุ้นการ
จับกลุ่มกันของเกร็ดเลือดและ fibrin รวมตัวกันเป็นก้อนยุ่ยและมีลักษณะคล้ายกะหล่ำดอก เรียกว่า
infective vegetation
การวินิจฉัย
-
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น ESR,WBC
-
-
Acute endocarditis
ภาวะการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจชนิดเฉียบพลัน เกิดขึ้นอย่าง
รวดเร็ว(ภายใน 6 สัปดาห์) และรุนแรง เชื้อโรคที่ทำให้เกิดมีความรุนแรงสูง เช่น
staphylococcus aureus
Subacute endocarditis
เกิดขึ้นอย่างช้าๆ (มากกว่า 6 สัปดาห์) และไม่ค่อย
รุนแรง เชื้อโรคที่ทำให้เกิดมีความรุนแรงไม่มาก เช่น streptococcusviridians
ปัจจัยเสี่ยง
1.การฉีดยาเข้าเส้นเลือดที่มีการปนเปื้อน
2.ลิ้นหัวใจเทียม
3.การผ่าตัดใหญ่ หรือการผ่าตัดที่เกี่ยวข้องกับเส้นเลือด
4.ความผิดปกติของหัวใจ
5.โรคกรรมพันธุ์
6.เคยมีการติดเชื้อที่ลิ้นหัวใจมาก่อน
Pericardial effusion
-
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายมักจะคลำ PMI ของหัวใจไม่ได้ หรือไม่ชัดเจนและฟังได้เสียงหัวใจเบาลง ถ้าเคาะบริเวณส่วนล่างสุดของกระดูก scapula ข้างซ้ายจะเคาะได้เสียทึบ
Chest x-ray จะพบเงาของหัวใจโต-ทำ Echocardiogram จะเห็น echo free space (สีดำ) อยู่
ในช่องว่างระหว่างเยื่อหุ้มหัวใจและผนังหัวใจห้องล่างและอาจเห็นหัวใจแกว่งไปมาตามการเต้นของหัวใจ
-
-
-
-
-
-