Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
F15.50/F15.20 Amphetamine induced psychotic disorder with schizophenia -…
F15.50/F15.20 Amphetamine induced psychotic disorder with schizophenia
ปัญหาการเกิดกลไกลทางจิต
ปัจจัยที่นำมาก่อน (Prediposing factor)
ความเครียดเรื่องพ่อแม่แยกทางกัน เลิกกับแฟนคนแรก ผู้ป่วยไม่มีงานทำ
ปัจจัยกระตุ้น (Precipitating factor
) การใช้สารเสพติด การสูบบุหรี่ อาการเครียดจากการคลอดลูก
ปัจจัยที่ทำให้อาการยังคงอยู่ (Prepetuating factor)
การใช้สารเสพติดอย่างต่อเนื่อง ทะเลาะกับอาคิดว่าคบชู้กับแฟนตนเอง
ปัจจัยปกป้อง (Protective factor)
การบำบัดสารเสพติด การเรียนรู้โทษของสารเสพติด การแก้ปัญหาโดยไม่ใช้สารเสพติด
ชื่อ คุณฟ้า (นามสมมติ) อายุ 29 ปี วันที่รับไว้ในโรงพยาบาล 13 ธันวาคม 2563 วันที่รับไว้ในความดูแล 29 ธันวาคม 2563 มารับการรักษาครั้งที่ 1
Chief complaints
: เสพยา อาละวาด ทำลายข้าวของ ทำร้ายย่า 2 วันก่อนมาโรงพยาบาล
Present illness
: - 2 ปีที่แล้ว มีประวัติใช้สารเสพติดเป็นยาบ้า ยาไอซ์ ใช้ๆหยุดๆ ไม่เคยหยุดใช้ได้นาน มีพูดคนเดียว บางคืนไม่นอน หวาดระแวงคนในบ้าน คิดว่า ทุกคนหลอกลวงตนคิดว่าอาและแฟนคบกันบางวันไม่ค่อยนอนบางวัน สูบบุหรี่ 1 ซองวัน ไม่ได้ทำงานของเงินย่าไปซื้อสารเสพติด มีท่องบทสวดเรื่อยเปื่อย บางครั้งมีพกพาอาวุธไปข้างนอก ตอนนี้ยังคดีความ
4 วันก่อนใช้ยาไอซ์จำปริมาณไม่ได้ จำปริมาณไม่ได้แต่คิดว่าญาติเอาของปลอมมาใส่ จึงทำให้ตัวเองคลุ้มคลั่ง อาละวาด
1 วัน อาละวาด ทำร้ายย่า เหตุไม่ยอมให้เงิน พกพาอาวุธมีด หูแว่ว เห็นภาพหลอน คิดว่าอาและแฟนนอกใจจึงถูกนำส่งโรงพยาบาล
Past illness and therapies
: 1 ปีที่แล้วติดคุยคดีเสพยาได้รับการบำบัดที่โรงพยาบาลธัญญารักษ์เป็นเวลา 6 เดือน
แอมเฟตามีน
เป็นสารกระตุ้นประสาทที่รู้จักกันในชื่อยาบ้า เดิมเรียกว่า ยาม้า เป็นยาเสพติดที่มีส่วนประกอบหลักคือสารสังเคราะห์กลุ่มแอมเฟตามีน มี 3 รูปแบบ คือ แอมเฟตามีนซัลเฟต (amphetamine sulfate) เมทแอมเฟตามีน (methamphetamine) และเมทแอมเฟตามีนไอโดรคลอไรด์ (methamphetamine hydrochloride) เสพโดยรับประทานดดยตรงผสมในอาหารเครื่องดื่ม หรือสูดดมเป็นไอระเหยของยาบ้าที่บดแล้วนำไปลนไฟ ฉีดเข้าเส้นเลือด
กลไกการออกฤทธิ์แอมเฟตามีน
แอมเฟตามีนกลุ่มดั้งเดิม (classic amphetamine) มีฤทธิ์ต่อสมองส่วนอยาก ทำให้มีการหลั่งมีโดพามีนมากขึ้นและมีซีโรโทนิน นอร์เอพิเนฟรินมากขึ้น ผู้ที่ใช้แอมเฟตามีนเป็นครั้งแรก ขนาดประมาณ 5 มิลิกรัม ช่วงแรกที่สารออกฤทธิ์จะทำให้รู้สึกดี เคลิบเคลิ้ม มีความสุข อารมณ์ดี เป็นมิตรกับผู้อื่น ความตั้งใจดีขึ้น พูดดีขึ้น ไม่ง่วงนอน เกิดความพึงพอใจ ส่งผลให้มีความต้องการใช้สารอย่างต่อเนื่อง
เกณฑ์การวินิจฉัย :ICD -10
โดยมักมีประสาทหลอนที่ชัดเจน ส่งผลให้เมื่อผู้ป่วยได้รับสารเสพติดเป็นเวลานาน ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ อาการหูแว่ว มองเห็นภาพหลอน เห็นผี หวาดระแวง
กลัวคนมาทำร้าย เป็นครั้งละ 2 -3 วัน เป็นๆหายๆ
โรคจิตจากเมทแอมเฟตามีน เป็นกลุ่มอาการโรคจิตที่เกิดขณะเสพหรือทันทีที่หยุดเสพ
เมทแอมเฟตามีนภายใน 48 ชั่วโมง
สาเหตุของการติดสารเสพติด
ปัจจัยทางกาย พันธุกรรมไม่มีประวัติคนในครอบครัวเสพยาเสพติด พยาธิสภาพในสมอง ไม่พบประวัติของการมีพยาธิสภาพที่สมอง
ปัจจัยทางจิตใจ ปัญหาด้านบุคลิกภาพ เช่น มีบุคลิกชอบเลียนแบบหรือทำตามผู้อื่น (Dependent personality) คือเสพยาตามเมื่อเพื่อนชักชวน
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ครอบครัว ลักษณะครอบครัวเป็นแบบครอบครัวขยาย สัมพันธภาพในครอบครัวไม่ค่อยมีเวลาให้ซึ่งกันและกัน เนื่องจากบิดาและมารดาทำงานอยู่ต่างอำเภอ ทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่กับตายาย ครอบครัวไม่มีเวลา ขาดความอบอุ่น กลุ่มเพื่อน ตอนเย็นหลังเลิกงานผู้ป่วยจะดื่มเบียร์ทุกวันวันละ 3 – 4 กระป๋อง หากวันไหนมีเพื่อนมาหาก็จะดื่มวันละ 2 – 3 ลัง ผู้ป่วยจะติดการสูบบุหรี่ ผู้ป่วยจะสูบบุหรี่วันละประมาณ 10 มวน ตั้งแต่ 3 ปีก่อน ทำยอดในการขายได้เยอะก็จะเสพยาบ้า ร่วมกับการติดเพื่อน เพื่อนก็จะชวนเสพ
การวินิจฉัยโรคจิตจาก
เมทแอมเฟตามีน ตามหลัก DSM5
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็น amphetamine induced psychosis : แอมเฟตามีนชักนำให้เกิดโรคจิต
ผู้ป่วยมีผลทางห้องปฏิบัติการคือ Methamphetamine ได้ผล Positive ซึ่งแปรผลได้ว่าผู้ป่วยมีการ
ใช้สารแอมเฟตามีน
ผู้ป่วยมีอาการประสาทหลอนหรือหลงผิดที่เด่นชัด ได้แก่ ผู้ป่วยมีประวัติ ว่ามีอาการหูแว่ว มองเห็นภาพหลอน เห็นผี หวาดระแวง กลัวคนมาทำร้าย เป็นครั้งละ 2 -3 วัน เป็นๆหายๆ
การวินิจฉัยความความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดของผู้ป่วย ตามหลัก DSM5
1.ผู้ป่วยมีภาวะ การควบคุมบกพร่อง (impaired control)
2.ผู้ป่วยความผิดปกติทางจิตใจที่เกิดจากสารเสพติด (medication-induced mental)
การบำบัดรักษาผู้ติดสารเสพติด
ขั้นเตรียมการเป็นการเตรียมความพร้อม
ผู้ป่วยได้รับการเตรียมความพร้อม และครอบครัวได้เตรียมผู้ป่วยมารับการรักษา
2.บำบัดรักษาภาวะถอนพิษยาของสารเสพติด
3.ขั้นการฟื้นฟูสมรรถภาพการรักษา
ขั้นการติดตามหลังการรักษาการติดตามหลังจากการรักษาฟื้นฟูสภาพจิตใจ
Nursing Diagnosis
การสร้างสัมพันธภาพบกพร่องเนื่องจากมีพฤติกรรมแยกตัว ผู้ป่วยขาดแรงจูงใจในการเลิกยาเนื่องจากไม่ตระหนักถึงความรุนแรงของการเสพติด
เสี่ยงต่อการกลับไปใช้สารเสพติดเนื่องจากการเผชิญปัญหาไม่เหมาะสม
Ineffective coping related to inadequate coping skill.
ผู้ป่วยขาดทักษะในการใช้ชีวิตในสังคมโดยไม่พึ่งพาสารเสพติด
Risk for other-directed Violence risk factors history of substance abuse (NANDA:927)