Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรมในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช, บทที่ 1…
3.สิทธิของผู้ป่วย กฎหมาย จริยธรรมในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
วัตถุประสงค์
เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยธรรมชนของผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต
เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากผู้ป่วยจิตเวช
เพื่อปกป้องคุ้มครอง ส่งเสริมและปรับปรุงคุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตของประชาชน
ประมวลกฎหมาย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 31
การใด ๆ อันบุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
ได้ทำลงไป การนั้นท่านว่าเป็นโมฆียะ
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 32
จะเป็นโมฆียะก็ต่อเมื่อพิสูจน์ด้วยว่าได้ทำลงในเวลาซึ่งบุคคลนั้น
วิกลจริตอยู่และคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งได้รู้แล้วด้วยว่าผู้ทำเป็นคนวิกลจริต
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 30
บุคคลผู้ซึ่งศาลได้สั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถนั้น
ท่านว่าต้องจัดให้อยู่ในความอนุบาล
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 29
ศาลจะสั่งให้บุคคลผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถคำสั่งนั้น
ให้โฆษณาตามในราชกิจจานุเบกษา
ขั้นตอนและแนวทางการดำเนินงานพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
แจ้ง: แจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เป็นตัน พนักงานฝ่ายปกครอง
ตรวจ: สถานพยาบาลของรัฐหรือหรือสถานบำบัดรักษาต้องประเมินอาการและวินิจฉัยเบื้องต้นภายใน 48 ชั่วโมง
เจอ: เมื่อพบบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22 (ผู้ที่มีภาวะอันตราย และ/หรือมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา)
ส่ง: ส่งรักษาในสถานบำบัด (โรงพยาบาลจิตเวช)
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551
มาตรา 3
"ผู้ป่วยคดี" หมายความว่า ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการสอบสวน
"ภาวะอันตราย" หมายความว่า พฤติกรรมที่บุคคลที่มีความผิดปกดิทางจิตแสคงออกโดยประการที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงต่อชีวิต
"ผู้ป่วย" หมายความว่า บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตซึ่งควรได้รับการบำบัดรักษา
“ความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา" หมายความว่า สภาวะของผู้ป่วยซึ่งขาดความสามารถในการตัดสินใจ
"ความผิดปกติทางจิต" หมายความว่า อาการผิดปกติของจิตใจที่แสดงออกมาทางพฤติกรรมอารมณ์ ความคิด ความจำ สติปัญญา
"คุมขัง" หมายความว่า การจำกัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลด้วยอำนาจของกฎหมายโดยการคุมตัว ควบคุม กัก กักกัน ขัง กักขัง จำขังและจำคุก
มาตรา 12
สถานบำบัดรักษาแต่ละแห่งให้มีคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา
จิตแพทย์ประจำสถานบำบัดรักษา 1 คน เป็นประธานกรรมการ
แพทย์ 1 คน พยาบาลจิตเวช 1 คน นักกฎหมาย 1 คน
นักจิตวิทยาคลินิกหรือนักสังคมสงเคราะห์ทางการแพทย์ 1 คนเป็นกรรมการ
มาตรา 13
ตรวจวินิจฉัย ประเมินอาการ
พิจารณา ทำความเห็นเกี่ยวกับการบำบัดรักษา
มาตรา 15
ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษาไว้เป็นความลับ
ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัย
ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์
ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม
มาตรา 16
เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน
มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้อื่น
มาตรา 17
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วย
เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่น
มาตรา 18
กรณีผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษานั้น
กรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ของผู้ป่วย
มาตรา 19
การทำหมันผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ เว้นแต่ได้ปฏิบัติตามมาตรา 18
โดยผู้ป่วยได้รับทราบเหตุผลความจำเป็น
มาตรา 20
การวิจัยใด ๆ ที่กระทำต่อผู้ป่วยต้องผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการที่ดำเนินการเกี่ยวกับจริยธรรมการวิจัยในคน
ได้รับการอธิบายเหตุผลความจำเป็นในการบำบัดรักษารายละเอียดและประโยชน์ของการบำบัดรักษา
มาตรา 21
ได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยต้องทำเป็นหนังสือและลงลายมือชื่อผู้ป่วยเป็นสำคัญ
กรณีที่ผู้ป่วยมีอายุไม่ถึงสิบแปดปีบริบูรณ์ หรือขาดความสามารถ
ในการตัดสินใจให้ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลให้ความยินยอม
ผู้ป่วยได้รับการอธิบายเหตุผล ความจำเป็นในการบำบัดรักษา
มาตรา 22
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตและมีภาวะอันตราย
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตและมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
มาตรา 35
ไปรับการตรวจที่สถานบำบัดรักษาพร้อมทั้งรายละเอียดพฤติการณ์แห่งคด
ให้จิตแพทย์ตรวจวินิจฉัยความผิดปกติ
ให้พนักงานสอบสวนหรือศาลส่งผู้ต้องหาหรือจำเลย
มาตรา 27
ให้แพทย์อย่างน้อยหนึ่งคนและพยาบาลอย่างน้อยหนึ่งคน ที่ประจำสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบำบัดรักษา ตรวจวินิจฉัย และประเมินอาการเบื้องต้น
บำบัดรักษาเพียงเท่า
จำเป็นตามความรุนแรงของอาการเพื่อประโยชน์แก่สุขภาพของบุคคลนั้น
มาตรา 24
พบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิต
เพื่อป้องกันการเกิดอันตรายต่อบุคคลนั้นเอง บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่น
นำตัวบุคคลนั้นไปยังสถาพยาบาลของรัฐ หรือสถานบำบัดรักษาซึ่งอยู่ไกลโดยไม่ชักช้า
มาตรา 23
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีลักษณะบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22
ให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจโดยไม่ชักช้า
หลักจริยธรรม (ethical principles)
ความยุติธรรมหรือความเสมอภาค
การเสียสละ
ระเบียบวินัย
ความรับผิดชอบ
ความเอื้ออาทรต่อผู้ป่วย
การบอกความจริง
ความซื่อสัตย์ หมายถึง ความซื่อตรง จริงใจ
ไม่หลอกลวง หรือเอาเปรียบผู้ป่วย
การรักษาความลับ
การเคารพเอกสิทธิ์
บทที่ 1 มโนทัศน์ของความผิดปกติทางสุขภาพจิตและจิตเวช
นางสาวอรอุมา มะลัยคำ พยบ ปี 3 รหัสนักศึกษา 180101026