Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงร…
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์
การสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์
ฟาน ฟลีต หรือวันวลิต
พ่อค้าชาวฮอลันดาที่เข้ามาค้าขายใน
ในสมัยพระเจ้าปราสาททอง
ได้บันทึกหลักฐานส าคัญเกี่ยวกับสภาพสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองไทยสมัยอยุธยา
ชีมง เดอ ลาลูแบร์
ทูตชาวฝรั่งเศลที่เดินทางเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เขียนบันทึกเรื่อง A New Historical Relation of the Kingdom of Siam หรือจดหมายเหตุ ลา ลูแบร์ราชอาณาจักรสยาม
นิโกลาส์แชรแวส
ชาวฝรั่งเศสที่เดินทางเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีใน
สมัยพระนารายณ์มหาราช
เขียนบันทึกเรื่อง ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและ
การเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม
พระสังฆราชปาลเลอกัวซ
ได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยในหนังสือเรื่องDescription du Royaume Thai ou Siam หรือเล่ากรงสยาม
ีมีโอกาสเดินทางไปยังหัวเมืองต่าง
ๆ ของไทย
บาทหลวงชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนาและ
พำนักในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
เฮนรี เบอร์นีย์
ทูตชาวอังกฤษที่เดินทางมาเจรจาทางการทูตใน
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้ท าบันทึกรายงานการเจรจาทางการทูตและข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยเสนอต่อรัฐบาลอังกฤษ ชื่อ The Burney Papers หรือเอกสารเฮนรี เบอร์นีย์
เซอร์จอห์น เบาร์ริง
เอกอัครราชทูตพิเศษชาวอังกฤษที่เดินทางเข้ามาเจริญ
สัมพันธไมตรีกับไทยในต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับประเทศไทยชื่อ The Kingdomand People of Siam หรือราชอาณาจักรสยามและราษฏรสยาม
การแพทย์
หมอเฮาส์
ได้ช่วยเหลือรักษาคนไข้จ านวนมาก โดยเฉพาะเมื่อเกิดอหิวาตกโรคระบาดในกรุงเทพฯ ในพ.ศ. 2392
มิชชันนารีชาวอเมริกา
เป็นแพทย์คนแรกที่น าวิธีการผ่าตัดโดยใช้
ยาสลบมารักษาผู้ป่วยในประเทศไทย
ชอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์
จบการศึกษาด้านแพทยศาสตร์และ
ฝึกหัดท าฟันจากสหรัฐอเมริกา
สอนนักเรียนแพทย์ฝึกหัดชาวไทยที่โรงเรียนแพทยาลัย ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นโรงพยาบาลศิริราช
บุตรของมิชชันนารีชาวอเมริกา
ที่เกิดในประเทศไทย
เปิดคลินิกรักษาโรคฟัน ใน
พ.ศ. 2458
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระอาจวิทยาคม
หมอบรัดเลย์
มิชชันนารีรุ่นแรก ๆ ที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนาใน
รัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้นำความรู้ทางการแพทย์แผน
ตะวันตกเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย
จบวิชาแพทยศาสตร์จาก
สหรัฐอเมริกา
เผยแพร่เรื่องการปลูกฝีและ
การฉีดวัคซีน
ได้เริ่มการรักษาด้วยวิธีการท า
ผ่าตัดในประเทศไทยเป็นครั้งแรก
การศึกษา
กลุ่มศาสนาคริสต์นิกาย
โรมันคาทอลิก
บาทหลวงเอมิล ออกุสต์
กอลมเบิร์ต
ได้ก่อตั้งโรงเรียนประจ าวัด (อัสสัมชัญ)
ปัจจุบัน คือ โรงเรียนอัสสัมชัญ
ชาวฝรั่งเศส เจ้าอาวาสวัดอัสสัมชัญ
เจษฏาจารย์ฟ. ฮีแลร์
ภราดาชาวฝรั่งเศสในคณะภราดาเซนต์คาเบ
รียล ที่เข้ามาเผยแผ่ศาสนาในประเทศไทย
นามเดิม ฟรังซัว ตูเวอเนต์
มีบทบาทส าคัญในการจัด
การศึกษาส าหรับเด็กไทย
กลุ่มศาสนาคริสต์นิกาย
โปรเตสแตนต์
ดร.ซามูเอล อาร์. เฮาส์
เปิดโรงเรียนส าหรับเด็กชายที่ส าเหร่ ต่อมา
พัฒนาเป็นโรงเรียนชายแห่งแรกของไทย หรือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนในปัจจุบัน
ศาสนาจารย์สตีเวน แมตตูน
นางแฮร์เรียต เฮาต์
ภรรยาของ ดร.เฮาส์
ได้เปิดโรงเรียนส าหรับเด็กหญิงแห่งแรกใน
ประเทศไทย ชื่อโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง
ต่อมานางสาวเอดนา ซาราห์โคล
เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น
โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
โรงเรียนย้ายสถานที่ไปอยู่
ย่านบางกะปิ (ถนนสุขุมวิท)
ได้พัฒนาให้โรงเรียนเจริญก้าวหน้า
ศิลปกรรม
นายคาร์ล ดอริง
สถาปนิกชาวเยอรมัน
นายช่างประจ ากรมรถไฟ
ผู้ออกแบบวังวรดิศ ตำหนักบางขุน
พรหม และพระรามราชนิเวศน์
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี
เป็นศิลปินชาวอิตาลีชื่อ
คอร์ราโด เฟโรชี
เป็นผู้รอบรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ศิลป์ การวิจารณ์ศิลปะและปรัชญา โดยเฉพาะความสามรถทางด้านศิลปะแขนงประติมากรรมและจิตรกรรม
นายคาร์ล ดอริง
จิตรกรชาวอิตาลี
ผู้วาดภาพจิตรกรรมเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคมและภาพจิตรกรรมพระอุโบสถวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร