Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของประชากรศาสตร์ (The nature of demography) -…
บทที่ 1 ลักษณะทั่วไปของประชากรศาสตร์
(The nature of demography)
ธรรมชาติของประชากรศาสตร์
ความหมายของประชากรศาสตร์
– Demos = people คือประชากร
– Graphie = describing คือ การบรรยาย/พรรณนา
Demograph : จึงเป็นการบรรยายหรือพรรณนาเกี่ยวกับคน/ประชากร
Demography เป็นคำภาษากรีก
จุดเริ่มต้นของประชากรศาสตร์
การศึกษาในระยะแรก สังเกตและคาดการณ์
เช่น จำนวนคนเกิดและคนตาย
ศตวรรษที่ 17 John Graunt ได้ศึกษาหาสาเหตุการตาย
ใช้ข้อมูลที่รวบรวมอย่างมีระบบ ตั้งแต่ปี
ค.ศ.1604-1661 จึงได้รับยกย่องเป็น”บิดาประชากรศาสตร์”
ขอบข่ายประชากรศาสตร์
ประชากรเชิงแบบ (formal demography)
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการใช้ระเบียบวิธีทางสถิติ
ประชากรทางการแพทย์ (Medical demography)
– เป็นการประยุกต์ใช้หลักการแบบจำลองและเทคนิคของ
ประชากรศาสตร์ เพื่อวิเคราะห์เกี่ยวกับปรากฏการณ์
ภาวการณ์เจ็บป่วย
ภาวะทุพพลภาพ
ภาวะการตาย
ลักษณะ สถิต (static aspects)
เป็นการศึกษาลักษณะเฉพาะ ณ ตำแหน่งเวลา เช่น อายุ เพศ
ลักษณะ พลวัต (dynamic aspects)
เป็นการศึกษาปรากฏการณ์ที่
เกิดขึ้นในช่วงเวลาหนึ่ง
ภาวะสมรส (nuptiality)
ภาวการณ์ตาย (mortality)
การย้ายถิ่น (migration)
ภาวะเจริญพันธุ์ (fertility)
การเพิ่ม (growth)
ข้อมูลทางประชากรศาสตร์
ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพสมรส อาชีพ รายได้
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การจดทะเบียน
เป็นข้อมูลที่ได้จากการจดแจ้งของประชาชนต่อหน่วยงานรัฐ
แจ้งเกิด
เเจ้งตาย
ทำบัตรประชาชน
การสำมโนประชากร
สมัยใหม่
เต็มรูปแบบ ค.ศ. 1841
ในไทย
มีการเพิ่มสำมะโนเคหะ
การสำรวจด้วยตัวอย่าง
ดำเนินการได้รวดเร็ว
มีความยืดหยุ่น
ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณทางประชากรศาสตร์
ส่วนใหญ่มักเป็นข้อมูลทุติยภูมิ
ข้อมูลปฐมภูมิ บางกรณีอาจเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข